โครงการมัสยิดส่งเสริมสุขภาพศูนย์เรียนรู้ด้านสุขภาพจิตบ้านแม่ที ต.ลำไพล อ.เทพา จ.สงขลา
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการมัสยิดส่งเสริมสุขภาพศูนย์เรียนรู้ด้านสุขภาพจิตบ้านแม่ที ต.ลำไพล อ.เทพา จ.สงขลา ”
ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายสุรเดช เดเระมะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการมัสยิดส่งเสริมสุขภาพศูนย์เรียนรู้ด้านสุขภาพจิตบ้านแม่ที ต.ลำไพล อ.เทพา จ.สงขลา
ที่อยู่ ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5192-2-3 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการมัสยิดส่งเสริมสุขภาพศูนย์เรียนรู้ด้านสุขภาพจิตบ้านแม่ที ต.ลำไพล อ.เทพา จ.สงขลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการมัสยิดส่งเสริมสุขภาพศูนย์เรียนรู้ด้านสุขภาพจิตบ้านแม่ที ต.ลำไพล อ.เทพา จ.สงขลา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการมัสยิดส่งเสริมสุขภาพศูนย์เรียนรู้ด้านสุขภาพจิตบ้านแม่ที ต.ลำไพล อ.เทพา จ.สงขลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5192-2-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสถานการณ์สภาวะด้านสุขภาพของประชากรไทยพบว่า แนวโน้มการเจ็บป่วยและตายด้วย โรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มขึ้น จากข้อมูลของสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข อัตราป่วย โรคมะเร็งจาก 468.3 ในปี 2548 เป็น 759.8 ต่อแสนประชากรในปี 2555 ในขณะที่โรคมะเร็งเป็น สาเหตุการตายอันดับหนึ่งของไทยและมีแนวโน้มสูงขึ้น 8 เท่า จาก 12.6 ในปี 2510 เป็น 43.8 ในปี 2540 และ 98.5 ต่อแสนประชากร ในปี 2555 โรคหลอดเลือดสมองเพิ่มขึ้นจาก 25.3 ในปี 2548 เป็น 31.7 ต่อแสนประชากรในปี 2555 ความชุกของประชาชนที่เป็นโรคหลอดเลือดสมอง อัมพฤกษ์ อัมพาต เพิ่มจากร้อยละ 0.8 ในปี 2547 เป็น 1.6 ในปี 2553 จากแนวโน้มดังกล่าวข้างต้นที่เพิ่มขึ้น สะท้อนถึงความต้องการการบริการการดูแลแบบประคับประคองมากขึ้น ประมาณการว่าในระยะ 10 ปีที่ ผ่านมา (2542 - 2552) ผู้ป่วยมะเร็งที่ต้องการการดูแลแบบประคับประคองเพิ่มขึ้นร้อยละ 11 (102,330 คน เป็น 113,548 คน) (แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาดัชนีประเมินภาระโรคและสุขภาพ ประชากรไทย สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2555; Cancer control, knowledge into action World Health Organization, 2007) ในทางเศรษฐศาสตร์พบว่าค่าใช้จ่ายของบุคคลในช่วงหกเดือนสุดท้ายของชีวิตมีมูลค่าสูงมากกว่า ช่วงใดๆของชีวิต คิดเป็นร้อยละ 8-11 ต่อปีของค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ และเป็นร้อยละ 10-29 ของ ค่าใช้จ่ายผู้ป่วยใน (ชุติมา อรรคลีพันธ์,2553)
สำหรับพื้นที่อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา ได้มีการสำรวจ และประเมินผู้ป่วยที่มีข้อบ่งชี้ที่ต้องได้รับการดูแลแบบประคับประคอง ในเดือนตุลาคม 2560 มีจำนวนทั้งหมด 53 ราย แต่ที่ได้รับการวินิจฉัยโดยแพทย์และได้รับการดูแลจากทีมประคับประคองของโรงพยาบาล มีเพียง 20 ราย คิดเป็นร้อยละ 37.74 ซึ่งถือว่าน้อยมาก ทั้งนี้เมื่อวิเคราะห์สาเหตุ พบว่าเกิดจากบุคลากรส่วนใหญ่ยังขาดความรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง และขาดการประสานงานระหว่างเครือข่ายสุขภาพ ส่งผลให้การดูแลผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าวยังไม่ครอบคลุม
ความเจ็บป่วยเป็นภาวะที่กระทบกระเทือนต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ แต่ละคนมีวิธีปรับตัวต่อ การเจ็บป่วยที่แตกต่างกันไป ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความร้ายแรงของโรค ลักษณะและวิธีการแก้ปัญหาของผู้ป่วย และสภาพแวดล้อมทางครอบครัวสังคม ภาวะจิตสังคมของผู้ป่วยเป็นสิ่งที่ชุมชนเองควรให้ความ สนใจ และให้ความช่วยเหลือตามความเหมาะสมซึ่งการที่ผู้เจ็บป่วยต้องเผชิญกับปัญหาชีวิต ย่อมมีความกังวลเป็นธรรมดา กังวลและซึมเศร้า เป็นอาการที่พบบ่อยที่สุด แต่การแสดงออกอาจไม่เท่ากัน ระยะเวลาที่มีอาการสั้นหรือยาว ย่อมขึ้นอยู่กับความสามารถในการปรับตัวของผู้ป่วยและญาติดังนั้นในฐานะอิหม่ามประจำหมู่บ้านแม่ทีจึงได้จัดทำโครงการมัสยิดส่งเสริมสุขภาพศูนย์เรียนรู้ด้านสุขภาพจิตบ้านแม่ที ต.ลำไพลขึ้น เพื่อพัฒนามัสยิดให้เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านสุขภาพจิตและให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้ในเรื่องมารยาทการเยี่ยมบ้านผู้เจ็บป่วยตามหลักศาสนาเพื่อส่งเสริมสุขภาพจิต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ มัสยิดเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านสุขภาพจิต
- 2. เพื่อให้ชุมชนมีความรู้ในเรื่องมารยาทการเยี่ยมบ้านผู้เจ็บป่วยตามหลักศาสนา
- 3. เพื่อสร้างขวัญกำลังใจแก่ญาติและตัวผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 อบรมความรู้เกี่ยวกับวิธีการปฏิบัติและมารยาทในการใช้ชีวิตประจำวัน สู่หนทางศาสนาอิสลามเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ
- กิจกรรมที่ 2 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ หลักการเยี่ยมผู้เจ็บป่วย ผู้ป่วยระยะสุดท้าย และ ญาติผู้เสียชีวิต เพื่อดูแลส่งเสริมสุขภาพกายและจิต
- กิจกรรมที่ 3 แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการดูแลสุขภาพจิตและญาติผู้เสียชีวิต
- กิจกรรมที่ 4 ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชน และชุมชนมีความรู้ในเรื่องมารยาทการเยี่ยมบ้านผู้เจ็บป่วยตามหลักศาสนาอิสลาม
- มัสยิดเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านสุขภาพจิตของประชาชนในชุมชน
- ได้สร้างขวัญกำลังใจแก่ญาติและตัวผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้ มัสยิดเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านสุขภาพจิต
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 90 ประชาชนใช้มัสยิดเป็นแหล่งเรียนด้านสุขภาพจิต
90.00
2
2. เพื่อให้ชุมชนมีความรู้ในเรื่องมารยาทการเยี่ยมบ้านผู้เจ็บป่วยตามหลักศาสนา
ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ 70 ประชาชนในชุมชนมีความรู้ด้านมารยาทการเยี่ยมบ้านผู้เจ็บป่วย
70.00
3
3. เพื่อสร้างขวัญกำลังใจแก่ญาติและตัวผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
ตัวชี้วัด : 3. ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยและญาติ ได้รับการเยี่ยมบ้านอย่างน้อย ๑ ครั้ง/ปี
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ มัสยิดเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านสุขภาพจิต (2) 2. เพื่อให้ชุมชนมีความรู้ในเรื่องมารยาทการเยี่ยมบ้านผู้เจ็บป่วยตามหลักศาสนา (3) 3. เพื่อสร้างขวัญกำลังใจแก่ญาติและตัวผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมความรู้เกี่ยวกับวิธีการปฏิบัติและมารยาทในการใช้ชีวิตประจำวัน สู่หนทางศาสนาอิสลามเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ (2) กิจกรรมที่ 2 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ หลักการเยี่ยมผู้เจ็บป่วย ผู้ป่วยระยะสุดท้าย และ ญาติผู้เสียชีวิต เพื่อดูแลส่งเสริมสุขภาพกายและจิต (3) กิจกรรมที่ 3 แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการดูแลสุขภาพจิตและญาติผู้เสียชีวิต (4) กิจกรรมที่ 4 ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการมัสยิดส่งเสริมสุขภาพศูนย์เรียนรู้ด้านสุขภาพจิตบ้านแม่ที ต.ลำไพล อ.เทพา จ.สงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5192-2-3
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสุรเดช เดเระมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการมัสยิดส่งเสริมสุขภาพศูนย์เรียนรู้ด้านสุขภาพจิตบ้านแม่ที ต.ลำไพล อ.เทพา จ.สงขลา ”
ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายสุรเดช เดเระมะ
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5192-2-3 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการมัสยิดส่งเสริมสุขภาพศูนย์เรียนรู้ด้านสุขภาพจิตบ้านแม่ที ต.ลำไพล อ.เทพา จ.สงขลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการมัสยิดส่งเสริมสุขภาพศูนย์เรียนรู้ด้านสุขภาพจิตบ้านแม่ที ต.ลำไพล อ.เทพา จ.สงขลา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการมัสยิดส่งเสริมสุขภาพศูนย์เรียนรู้ด้านสุขภาพจิตบ้านแม่ที ต.ลำไพล อ.เทพา จ.สงขลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5192-2-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสถานการณ์สภาวะด้านสุขภาพของประชากรไทยพบว่า แนวโน้มการเจ็บป่วยและตายด้วย โรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มขึ้น จากข้อมูลของสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข อัตราป่วย โรคมะเร็งจาก 468.3 ในปี 2548 เป็น 759.8 ต่อแสนประชากรในปี 2555 ในขณะที่โรคมะเร็งเป็น สาเหตุการตายอันดับหนึ่งของไทยและมีแนวโน้มสูงขึ้น 8 เท่า จาก 12.6 ในปี 2510 เป็น 43.8 ในปี 2540 และ 98.5 ต่อแสนประชากร ในปี 2555 โรคหลอดเลือดสมองเพิ่มขึ้นจาก 25.3 ในปี 2548 เป็น 31.7 ต่อแสนประชากรในปี 2555 ความชุกของประชาชนที่เป็นโรคหลอดเลือดสมอง อัมพฤกษ์ อัมพาต เพิ่มจากร้อยละ 0.8 ในปี 2547 เป็น 1.6 ในปี 2553 จากแนวโน้มดังกล่าวข้างต้นที่เพิ่มขึ้น สะท้อนถึงความต้องการการบริการการดูแลแบบประคับประคองมากขึ้น ประมาณการว่าในระยะ 10 ปีที่ ผ่านมา (2542 - 2552) ผู้ป่วยมะเร็งที่ต้องการการดูแลแบบประคับประคองเพิ่มขึ้นร้อยละ 11 (102,330 คน เป็น 113,548 คน) (แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาดัชนีประเมินภาระโรคและสุขภาพ ประชากรไทย สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2555; Cancer control, knowledge into action World Health Organization, 2007) ในทางเศรษฐศาสตร์พบว่าค่าใช้จ่ายของบุคคลในช่วงหกเดือนสุดท้ายของชีวิตมีมูลค่าสูงมากกว่า ช่วงใดๆของชีวิต คิดเป็นร้อยละ 8-11 ต่อปีของค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ และเป็นร้อยละ 10-29 ของ ค่าใช้จ่ายผู้ป่วยใน (ชุติมา อรรคลีพันธ์,2553)
สำหรับพื้นที่อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา ได้มีการสำรวจ และประเมินผู้ป่วยที่มีข้อบ่งชี้ที่ต้องได้รับการดูแลแบบประคับประคอง ในเดือนตุลาคม 2560 มีจำนวนทั้งหมด 53 ราย แต่ที่ได้รับการวินิจฉัยโดยแพทย์และได้รับการดูแลจากทีมประคับประคองของโรงพยาบาล มีเพียง 20 ราย คิดเป็นร้อยละ 37.74 ซึ่งถือว่าน้อยมาก ทั้งนี้เมื่อวิเคราะห์สาเหตุ พบว่าเกิดจากบุคลากรส่วนใหญ่ยังขาดความรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง และขาดการประสานงานระหว่างเครือข่ายสุขภาพ ส่งผลให้การดูแลผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าวยังไม่ครอบคลุม
ความเจ็บป่วยเป็นภาวะที่กระทบกระเทือนต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ แต่ละคนมีวิธีปรับตัวต่อ การเจ็บป่วยที่แตกต่างกันไป ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความร้ายแรงของโรค ลักษณะและวิธีการแก้ปัญหาของผู้ป่วย และสภาพแวดล้อมทางครอบครัวสังคม ภาวะจิตสังคมของผู้ป่วยเป็นสิ่งที่ชุมชนเองควรให้ความ สนใจ และให้ความช่วยเหลือตามความเหมาะสมซึ่งการที่ผู้เจ็บป่วยต้องเผชิญกับปัญหาชีวิต ย่อมมีความกังวลเป็นธรรมดา กังวลและซึมเศร้า เป็นอาการที่พบบ่อยที่สุด แต่การแสดงออกอาจไม่เท่ากัน ระยะเวลาที่มีอาการสั้นหรือยาว ย่อมขึ้นอยู่กับความสามารถในการปรับตัวของผู้ป่วยและญาติดังนั้นในฐานะอิหม่ามประจำหมู่บ้านแม่ทีจึงได้จัดทำโครงการมัสยิดส่งเสริมสุขภาพศูนย์เรียนรู้ด้านสุขภาพจิตบ้านแม่ที ต.ลำไพลขึ้น เพื่อพัฒนามัสยิดให้เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านสุขภาพจิตและให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้ในเรื่องมารยาทการเยี่ยมบ้านผู้เจ็บป่วยตามหลักศาสนาเพื่อส่งเสริมสุขภาพจิต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ มัสยิดเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านสุขภาพจิต
- 2. เพื่อให้ชุมชนมีความรู้ในเรื่องมารยาทการเยี่ยมบ้านผู้เจ็บป่วยตามหลักศาสนา
- 3. เพื่อสร้างขวัญกำลังใจแก่ญาติและตัวผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 อบรมความรู้เกี่ยวกับวิธีการปฏิบัติและมารยาทในการใช้ชีวิตประจำวัน สู่หนทางศาสนาอิสลามเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ
- กิจกรรมที่ 2 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ หลักการเยี่ยมผู้เจ็บป่วย ผู้ป่วยระยะสุดท้าย และ ญาติผู้เสียชีวิต เพื่อดูแลส่งเสริมสุขภาพกายและจิต
- กิจกรรมที่ 3 แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการดูแลสุขภาพจิตและญาติผู้เสียชีวิต
- กิจกรรมที่ 4 ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชน และชุมชนมีความรู้ในเรื่องมารยาทการเยี่ยมบ้านผู้เจ็บป่วยตามหลักศาสนาอิสลาม
- มัสยิดเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านสุขภาพจิตของประชาชนในชุมชน
- ได้สร้างขวัญกำลังใจแก่ญาติและตัวผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ มัสยิดเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านสุขภาพจิต ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 90 ประชาชนใช้มัสยิดเป็นแหล่งเรียนด้านสุขภาพจิต |
90.00 |
|
||
2 | 2. เพื่อให้ชุมชนมีความรู้ในเรื่องมารยาทการเยี่ยมบ้านผู้เจ็บป่วยตามหลักศาสนา ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ 70 ประชาชนในชุมชนมีความรู้ด้านมารยาทการเยี่ยมบ้านผู้เจ็บป่วย |
70.00 |
|
||
3 | 3. เพื่อสร้างขวัญกำลังใจแก่ญาติและตัวผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง ตัวชี้วัด : 3. ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยและญาติ ได้รับการเยี่ยมบ้านอย่างน้อย ๑ ครั้ง/ปี |
100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ มัสยิดเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านสุขภาพจิต (2) 2. เพื่อให้ชุมชนมีความรู้ในเรื่องมารยาทการเยี่ยมบ้านผู้เจ็บป่วยตามหลักศาสนา (3) 3. เพื่อสร้างขวัญกำลังใจแก่ญาติและตัวผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมความรู้เกี่ยวกับวิธีการปฏิบัติและมารยาทในการใช้ชีวิตประจำวัน สู่หนทางศาสนาอิสลามเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ (2) กิจกรรมที่ 2 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ หลักการเยี่ยมผู้เจ็บป่วย ผู้ป่วยระยะสุดท้าย และ ญาติผู้เสียชีวิต เพื่อดูแลส่งเสริมสุขภาพกายและจิต (3) กิจกรรมที่ 3 แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการดูแลสุขภาพจิตและญาติผู้เสียชีวิต (4) กิจกรรมที่ 4 ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการมัสยิดส่งเสริมสุขภาพศูนย์เรียนรู้ด้านสุขภาพจิตบ้านแม่ที ต.ลำไพล อ.เทพา จ.สงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5192-2-3
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสุรเดช เดเระมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......