กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการอบรมแบบมีส่วนร่วมของครอบครัวผู้พิการ ผู้ดูแล และผู้ที่เกี่ยวข้องในการดูแลสุขภาพและการปฐมพยาบาล ”
ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นายสิทธิพงค์หนูชูชัย




ชื่อโครงการ โครงการอบรมแบบมีส่วนร่วมของครอบครัวผู้พิการ ผู้ดูแล และผู้ที่เกี่ยวข้องในการดูแลสุขภาพและการปฐมพยาบาล

ที่อยู่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L3346-3-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มกราคม 2561 ถึง 14 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมแบบมีส่วนร่วมของครอบครัวผู้พิการ ผู้ดูแล และผู้ที่เกี่ยวข้องในการดูแลสุขภาพและการปฐมพยาบาล จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมแบบมีส่วนร่วมของครอบครัวผู้พิการ ผู้ดูแล และผู้ที่เกี่ยวข้องในการดูแลสุขภาพและการปฐมพยาบาล



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมแบบมีส่วนร่วมของครอบครัวผู้พิการ ผู้ดูแล และผู้ที่เกี่ยวข้องในการดูแลสุขภาพและการปฐมพยาบาล " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ L3346-3-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มกราคม 2561 - 14 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามพระราชบัญญัติพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550 คนพิการเป็นบุคคลซึ่งมีข้อจำกัด ในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวัน หรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคม เนื่องจากความบกพร้องทางการเห็น การได้ยิน การเคลื่อนไหบ การสื่สาร จิตใจ อารณ์ พฤติกาาร สติปัญญา การเรียนรู้ หรือความบำพร่องอื่นใด ประกอบกับมีอุปสรรคในด้านต่าง ๆมีความจำเป็น เป็นพิเศษท่ีจ้อต้องได้รับความช่วยเหลือด้านหนึ่ง ด้านใด เพื่อให้สามารถปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวัน หรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคมได้อย่างบุคคลทั่วไป ซึ่งครอบครัวก็มีส่วนสำคัญในการช่วยเหลือและเป็นกำลังใจให้คนพิการสามารถฟื้นฟูสุขาภาพร่างกายให้แข็งแรง การดูแลสุขภาพผู้พิการประกอบด้วยเนื่องหา 6 ส่วน โดยเริ่มจากการจัดบริการสุขภาพคนพิการซึ่งเป็นพื้นฐานของการดำเนินการสาธารณสุขมีองค์ประกอบ 5 ด้าน ได้แก่ การส่งเสริมสุขาภพ การป้องก้น การรักษาโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพและการจัดหาอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการมีการสำรวจข้อมูลและการประเมินหาความจำเป็น จัดบริการตามศักยภาพทั้งในด้านสถานท่ีจัดสิ่งแวดล้อมท่ีเอื้ออำนวยต่อการดำรงชีวิต การปฐมพยาบาลเป็นการให้ความช่วยเหลือแก่ผู็บาดเจ็บหรือผู้ป่วย ณ สถ่นท่ีเกิดเหตุโดยใช้อุปถัมภ์ เท่าท่ีหาได้ในขณะนั้น ก่อนท่ีผู้บาดเจ็บจะได้รับการดูแลรักษาจากบุคลากรทางการแพทย์ หรือส่งต่อไปยังโรงพยาบาลเพื่อช่วยชีวิตเป็นการลดความรุนแรงของการบาดเจ็บหรือการเจ็บป่วย ทำให้บรรเท่าความเจ็บปวดทรามาน และช่วยใก้กลับสู่สภาพเดิมได้ รวมทั้งป้องกันความพิการซ้ำซ้อนท่ีเกิดขึ้นภายหลัง ผู้ช่วยเหลือมักเป็นบุคคลท่ีอยู่ในเหตุการณ์ขณะนั้น และผู็บากเจ็บหรือผู้เคราะห์ร้ายจากเหตุการณ์ต่าง ๆ การปฐมพยาลยาลท่ีดีผู็ช่วยเหลือ ควรให้การปฐมพยาบาลอย่างถูกวิธี รวดเร็ว นุ่มนวล และำนึงถึงสภาพจิตใจของผู็บาดเจ็บด้วย ควนปลอบประโลมและให้กำลังใจเสร็จแล้วให้รีบแจ้งขอความช่วยเหลือจากหน่วยแพทย์ เทศบาลตำบลบ้านพร้าว ได้เล็งเป็นความสำคัญของการอบรมแบบมีส่วนร่วมของครอบครัวผู้พิการในเขตรับผิดชอบมีทั้งหมด 251 คน และเป็นผู้พิการที่ต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่จากครอบครัว และผู้ดูแลและหน่วยงานท่ีเกี่ี่ยวข้องทุกคนเพื่อให้สามาถช่วยเหลือตัวเองให้อยู่ในสังคมอย่างมีความสุข

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้พิการได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพโดยญาติหรอผู้ดูแลทำให้สุขภาพแข็งแรงขึ้นลดอันตราย 2.เพื่อให้ญาติหรือผู้ดูแลมีความรู้และทักษะในการดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการรวมทั้งการปฐมพยาบาล 3. เพื่อใก้แกนนำหรือผู้ที่เกี่ยวข้องมีความรู้ในสิทธิของผู้พิการและสามารถช่วยเหลือกผู้พิการได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้ผู้พิการ ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลผู้พิการ และผู้ที่เกี่ยวข้อง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 25
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้พิการ ผู้ดูแลผู้พิการ มีความรู้ ความเข้าใจในวิธีการดูแลสุขภาพร่่างกาย 2. การปฐมพยาบาลเบื้องต้นได้เพื่อลดอันตรายการดำเนินชีวิต

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.ร้อยละ 80 ของผู้พิการ ผุ้ปกครองหรือผุ้ดูแลผู้พิการมีทักษะในการดูแลสุขภาพ 2.ผู้พิการ ผุ้ปกครองหรือผุ้ดูแลผู้พิการ มีความรุ้ความเข้าใจในวิธีการดูแลสุขภาพร่างกาย การปฐมพยาบาลเบื้องต้นได้เพื่อลดอันตรายการดำเนินชีวิต

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ผู้พิการได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพโดยญาติหรอผู้ดูแลทำให้สุขภาพแข็งแรงขึ้นลดอันตราย 2.เพื่อให้ญาติหรือผู้ดูแลมีความรู้และทักษะในการดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการรวมทั้งการปฐมพยาบาล 3. เพื่อใก้แกนนำหรือผู้ที่เกี่ยวข้องมีความรู้ในสิทธิของผู้พิการและสามารถช่วยเหลือกผู้พิการได้
ตัวชี้วัด : 1. ผู้พิการ ผู้ดูแลผู้พิการ มีความรู้ ความเข้าใจในวิธีการดูแลสุขภาพร่างกาย 2. การปฐมพยาบาลเบื้องต้นได้ เพื่อลดอันตรายการดำเนินชีวิต
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 25
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 25
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้พิการได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพโดยญาติหรอผู้ดูแลทำให้สุขภาพแข็งแรงขึ้นลดอันตราย 2.เพื่อให้ญาติหรือผู้ดูแลมีความรู้และทักษะในการดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการรวมทั้งการปฐมพยาบาล 3. เพื่อใก้แกนนำหรือผู้ที่เกี่ยวข้องมีความรู้ในสิทธิของผู้พิการและสามารถช่วยเหลือกผู้พิการได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้ผู้พิการ ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลผู้พิการ และผู้ที่เกี่ยวข้อง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมแบบมีส่วนร่วมของครอบครัวผู้พิการ ผู้ดูแล และผู้ที่เกี่ยวข้องในการดูแลสุขภาพและการปฐมพยาบาล จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L3346-3-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสิทธิพงค์หนูชูชัย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด