โครงการ"บำบัดชีวิตพิชิตโรคด้วยศาสตร์มณีเวช"
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ"บำบัดชีวิตพิชิตโรคด้วยศาสตร์มณีเวช" ”
ตำบลทะเลน้อย อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางสาวมารีนา สุหรง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทะเลน้อย
สิงหาคม 2561
ชื่อโครงการ โครงการ"บำบัดชีวิตพิชิตโรคด้วยศาสตร์มณีเวช"
ที่อยู่ ตำบลทะเลน้อย อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 61-L3319-01-04 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ"บำบัดชีวิตพิชิตโรคด้วยศาสตร์มณีเวช" จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทะเลน้อย อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทะเลน้อย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ"บำบัดชีวิตพิชิตโรคด้วยศาสตร์มณีเวช"
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ"บำบัดชีวิตพิชิตโรคด้วยศาสตร์มณีเวช" " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทะเลน้อย อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L3319-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทะเลน้อย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วิวัฒนาการของโลกปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลอย่างรวดเร็วมาก วิถีชีวิตที่เร่งรีบและการพึ่งพาเทคโนโลยีทำให้ประชาชนไม่มีเวลาเพียงพอ ทำให้คนเราต้องพยายามวิ่งไล่ตามให้ทัน จึงต้องใช้ชีวิตอย่างรวดเร็ว นอกจากต้องคิดให้เร็วแล้ว ยังต้องเคลื่อนไหวให้เร็ว สิ่งเหล่านี้มักก่อให้เกิดอุบัติเหตุได้ง่าย อาจทำโครงการสร้างของร่างกายเสียสมดุลขาดความเอาใจใส่ในการดูแลสุขภาพทั้งด้านร่างกายและจิตใจ จนอาจก่อให้เกิดความเจ็บปวด หรือก่อให้เกิดอาการผิดปกติเรื้อรังบางอย่างได้ เมื่อเกิดการเจ็บป่วยจึงพึ่งพาการแพทย์ในการซ่อมเสริมสุขภาพ ประกอบกับเทคโนโลยีที่ทันสมัยในการตรวจวินิจฉัยและการดูแลสุขภาพ จึงทำให้สูญเสียค่าใช้จ่ายสูงเกินความจำเป็น ประกอบกับโรคภัยไข้เจ็บเริ่มมีความซับซ้อนและมีอัตราการตายที่เพิ่มสูงขึ้น
การดูแลสุขภาพแบบองค์รวมเป็นการดูแลสุขภาพแบบดั้งเดิมสอดคล้องกับวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ เป็นการใช้วิธีการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมทั้งด้านร่างกายและจิตใจ มีการใช้ธรรมชาติบำบัด กายภาพบำบัด จิตบำบัด และการใช้ปรับสมดุลร่างกาย เป็นการอธิบายภาวะต่างๆที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ ทั้งสภาวะปกติและสภาวะที่ผิดปกติ (สภาวะที่เสียสมดุล) โดยใช้ทฤษฎี ความสมดุลของร่างกายและจิตใจ ผสมผสานองค์ความรู้พื้นบ้าน องค์ความรู้ที่สืบทอดจากบรรพบุรุษ และองค์ความรู้ที่พัฒนาขึ้นมาเอง กระบวนการทางการดูแลสุขภาพองค์รวม จะเกี่ยวกับการตรวจ การวินิจฉัย การฟื้นฟู และป้องกันโรค การส่งเสริมและฟื้นฟูสุขภาพมนุษย์หรือสัตว์ รวมถึงการป้องกันการเสียสมดุล อันจะนำไปสู่ความเจ็บป่วย และความผิดปกติของร่างกาย โดยอาศัยความรู้หรือตำราที่ได้ถ่ายทอดและสืบต่อกันมา
มณีเวช เป็นการจัดสมดุลโครงสร้างของร่างกาย เรียกว่า การปรับสมดุลร่างกาย โดยเป็นวิทยาการที่ผสมผสานหลักวิชาการดูแลสุขภาพแผนไทย ธรรมชาติบำบัด และอายุรวัฒน์ มาพัฒนาต่อยอดและนำมาใช้ในการฟื้นฟูสุขภาพประกอบด้วย ท่าบริหารง่ายๆ ที่ใช้เวลาไม่มากในการบริหาร และทำได้สะดวกทั้งที่บ้านและที่ทำงาน โดยท่าบริหารเหล่านั้นจะช่วยจัดสมดุล ให้กับโครงสร้างส่วนต่างๆ ของร่างกาย แต่หากร่างกายมีสภาวะที่เสียสมดุลมาก ก็จำเป็นที่ต้องใช้ทักษะขั้นสูงในการปรับสมดุลดังกล่าว โครงการในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เข้าร่วมได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ขั้นตอน เทคนิค วิธีการของมณีเวช ตลอดจนการฝึกประสบการณ์ เพื่อให้เกิดความชำนาญ สามารถที่จะนำความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการสมดุลร่างกายด้วยศาสตร์มณีเวช ไปใช้ประโยชน์ในด้านการดูแลสุขภาพของประชาชนให้มีสุขภาพที่ดีต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ เบื้องต้น เกี่ยวกับการปรับสมดุลร่างกายด้วยมณีเวช
- 2. เพื่อให้สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ดูแล สุขภาพเบื้องต้นสำหรับตนเองและผู้อื่น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์มณีเวช
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดสมดุลร่างกายด้วยมณีเวช
- ประชาชนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปดูแลสุขภาพตนเองและผู้อื่น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ เบื้องต้น เกี่ยวกับการปรับสมดุลร่างกายด้วยมณีเวช
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับสมดุลร่างกายด้วยมณีเวชเพิ่มขึ้น ร้อยละ 70
30.00
2
2. เพื่อให้สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ดูแล สุขภาพเบื้องต้นสำหรับตนเองและผู้อื่น
ตัวชี้วัด : ประชาชนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไป ใช้ดูแลสุขภาพเบื้องต้นสำหรับตนเองและผู้อื่น ร้อยละ 70
30.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
30
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ เบื้องต้น เกี่ยวกับการปรับสมดุลร่างกายด้วยมณีเวช (2) 2. เพื่อให้สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ดูแล สุขภาพเบื้องต้นสำหรับตนเองและผู้อื่น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์มณีเวช
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ"บำบัดชีวิตพิชิตโรคด้วยศาสตร์มณีเวช" จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 61-L3319-01-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวมารีนา สุหรง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ"บำบัดชีวิตพิชิตโรคด้วยศาสตร์มณีเวช" ”
ตำบลทะเลน้อย อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางสาวมารีนา สุหรง
สิงหาคม 2561
ที่อยู่ ตำบลทะเลน้อย อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 61-L3319-01-04 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ"บำบัดชีวิตพิชิตโรคด้วยศาสตร์มณีเวช" จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทะเลน้อย อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทะเลน้อย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ"บำบัดชีวิตพิชิตโรคด้วยศาสตร์มณีเวช"
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ"บำบัดชีวิตพิชิตโรคด้วยศาสตร์มณีเวช" " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทะเลน้อย อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L3319-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทะเลน้อย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วิวัฒนาการของโลกปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลอย่างรวดเร็วมาก วิถีชีวิตที่เร่งรีบและการพึ่งพาเทคโนโลยีทำให้ประชาชนไม่มีเวลาเพียงพอ ทำให้คนเราต้องพยายามวิ่งไล่ตามให้ทัน จึงต้องใช้ชีวิตอย่างรวดเร็ว นอกจากต้องคิดให้เร็วแล้ว ยังต้องเคลื่อนไหวให้เร็ว สิ่งเหล่านี้มักก่อให้เกิดอุบัติเหตุได้ง่าย อาจทำโครงการสร้างของร่างกายเสียสมดุลขาดความเอาใจใส่ในการดูแลสุขภาพทั้งด้านร่างกายและจิตใจ จนอาจก่อให้เกิดความเจ็บปวด หรือก่อให้เกิดอาการผิดปกติเรื้อรังบางอย่างได้ เมื่อเกิดการเจ็บป่วยจึงพึ่งพาการแพทย์ในการซ่อมเสริมสุขภาพ ประกอบกับเทคโนโลยีที่ทันสมัยในการตรวจวินิจฉัยและการดูแลสุขภาพ จึงทำให้สูญเสียค่าใช้จ่ายสูงเกินความจำเป็น ประกอบกับโรคภัยไข้เจ็บเริ่มมีความซับซ้อนและมีอัตราการตายที่เพิ่มสูงขึ้น การดูแลสุขภาพแบบองค์รวมเป็นการดูแลสุขภาพแบบดั้งเดิมสอดคล้องกับวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ เป็นการใช้วิธีการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมทั้งด้านร่างกายและจิตใจ มีการใช้ธรรมชาติบำบัด กายภาพบำบัด จิตบำบัด และการใช้ปรับสมดุลร่างกาย เป็นการอธิบายภาวะต่างๆที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ ทั้งสภาวะปกติและสภาวะที่ผิดปกติ (สภาวะที่เสียสมดุล) โดยใช้ทฤษฎี ความสมดุลของร่างกายและจิตใจ ผสมผสานองค์ความรู้พื้นบ้าน องค์ความรู้ที่สืบทอดจากบรรพบุรุษ และองค์ความรู้ที่พัฒนาขึ้นมาเอง กระบวนการทางการดูแลสุขภาพองค์รวม จะเกี่ยวกับการตรวจ การวินิจฉัย การฟื้นฟู และป้องกันโรค การส่งเสริมและฟื้นฟูสุขภาพมนุษย์หรือสัตว์ รวมถึงการป้องกันการเสียสมดุล อันจะนำไปสู่ความเจ็บป่วย และความผิดปกติของร่างกาย โดยอาศัยความรู้หรือตำราที่ได้ถ่ายทอดและสืบต่อกันมา มณีเวช เป็นการจัดสมดุลโครงสร้างของร่างกาย เรียกว่า การปรับสมดุลร่างกาย โดยเป็นวิทยาการที่ผสมผสานหลักวิชาการดูแลสุขภาพแผนไทย ธรรมชาติบำบัด และอายุรวัฒน์ มาพัฒนาต่อยอดและนำมาใช้ในการฟื้นฟูสุขภาพประกอบด้วย ท่าบริหารง่ายๆ ที่ใช้เวลาไม่มากในการบริหาร และทำได้สะดวกทั้งที่บ้านและที่ทำงาน โดยท่าบริหารเหล่านั้นจะช่วยจัดสมดุล ให้กับโครงสร้างส่วนต่างๆ ของร่างกาย แต่หากร่างกายมีสภาวะที่เสียสมดุลมาก ก็จำเป็นที่ต้องใช้ทักษะขั้นสูงในการปรับสมดุลดังกล่าว โครงการในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เข้าร่วมได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ขั้นตอน เทคนิค วิธีการของมณีเวช ตลอดจนการฝึกประสบการณ์ เพื่อให้เกิดความชำนาญ สามารถที่จะนำความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการสมดุลร่างกายด้วยศาสตร์มณีเวช ไปใช้ประโยชน์ในด้านการดูแลสุขภาพของประชาชนให้มีสุขภาพที่ดีต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ เบื้องต้น เกี่ยวกับการปรับสมดุลร่างกายด้วยมณีเวช
- 2. เพื่อให้สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ดูแล สุขภาพเบื้องต้นสำหรับตนเองและผู้อื่น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์มณีเวช
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 30 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดสมดุลร่างกายด้วยมณีเวช
- ประชาชนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปดูแลสุขภาพตนเองและผู้อื่น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ เบื้องต้น เกี่ยวกับการปรับสมดุลร่างกายด้วยมณีเวช ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับสมดุลร่างกายด้วยมณีเวชเพิ่มขึ้น ร้อยละ 70 |
30.00 |
|
||
2 | 2. เพื่อให้สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ดูแล สุขภาพเบื้องต้นสำหรับตนเองและผู้อื่น ตัวชี้วัด : ประชาชนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไป ใช้ดูแลสุขภาพเบื้องต้นสำหรับตนเองและผู้อื่น ร้อยละ 70 |
30.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 30 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 30 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ เบื้องต้น เกี่ยวกับการปรับสมดุลร่างกายด้วยมณีเวช (2) 2. เพื่อให้สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ดูแล สุขภาพเบื้องต้นสำหรับตนเองและผู้อื่น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์มณีเวช
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ"บำบัดชีวิตพิชิตโรคด้วยศาสตร์มณีเวช" จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 61-L3319-01-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวมารีนา สุหรง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......