กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการป้องกันแก้ปัญหาสารเสพติดในสถานศึกษา ”
โรงเรียนบ้านนาค้อเหนือ ตำบลป่าบอน อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางรุจิรา ขุนภิบาล




ชื่อโครงการ โครงการป้องกันแก้ปัญหาสารเสพติดในสถานศึกษา

ที่อยู่ โรงเรียนบ้านนาค้อเหนือ ตำบลป่าบอน อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 60-L2984-2-6 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันแก้ปัญหาสารเสพติดในสถานศึกษา จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนบ้านนาค้อเหนือ ตำบลป่าบอน อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าบอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันแก้ปัญหาสารเสพติดในสถานศึกษา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันแก้ปัญหาสารเสพติดในสถานศึกษา " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนบ้านนาค้อเหนือ ตำบลป่าบอน อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L2984-2-6 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,920.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าบอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542 และแก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 2 พ.ศ.2545 โดยได้บัญญัติให้ผู้รับผิดชอบการศึกษา พัฒนาผู้เรียนให้ครอบคลุมสำหรับทั้ง 3 ด้าน คือ ให้เป็นคนเก่ง คนดี สามารถดำเนินชีวิต อยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงของกระแสสังคมโลกที่มีการพลวัตร อยู่ตลอดเวลา ผลกระทบที่ก่อให้เกิดสภาพปัญหาที่รุนแรงในเยาวชนวัยรุ่นและวัยเรียนในสังคมไทย ก็คือปัญหาด้านยาเสพติดซึ่งเป็นปัญหาที่ทำให้รัฐต้องสิ้นเปลืองงบประมาณในแต่ละปีเป็นจำนวนมากมหาศาล นอกจากเป็นการสูญเสียจำนวนเม็ดเงินแล้วยังส่งผลถึงความล่มสลาย วิญญาณของพ่อแม่ ผู้ปกครอง ตลอดจนบุคคลใกล้ชิด ทำให้เกิดปัญหาทางด้านสังคมติดตามมาอีกมากมาย การแก้ปัญหาดังกล่าวนั้นเป็นการยากลำบาก ทั้งในด้านการใช้งบประมาณ พลังใจที่เข้มแข็งและเวลาอันยาวนาน โรงเรียนในฐานะเป็นองค์กรที่ต้องดูแลรับผิดชอบ กลุ่มเยาวชนดังกล่าวเห็นว่าการป้องกันโดยการสร้างองค์ความรู้ความเข้าใจนับเป็นแนวทางสำคัญ ที่ทำให้เยาวชนปลอดภัยจากยาเสพติด ได้ในระดับหนึ่ง นอกเหนือจากการดูแลของสถาบันครอบครัว โรงเรียนบ้านนาค้อเหนือหมู่ที่ 5 ตำบลป่าบอน อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี เป็นโรงเรียนที่ประกอบด้วยนักเรียนจำนวน 98 คน บุคลากร ครูผู้สอน จำนวน 13 คน จากการสำรวจของโรงเรียน พบว่ายังไม่มี ผู้ติดสารเสพติดดังกล่าว เนื่องจากนักเรียนยังอายุน้อยแต่จากประสบการณ์พบว่า เมื่อนักเรียนเข้าสู่วัยรุ่นในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เป็นต้นไป นักเรียนก็จะเริ่มเข้าไปทดลองใช้ยาเสพติดดังกล่าวจนทำให้ต้องเสียคนและเสียการเรียนไปในที่สุด ด้วยเหตุนี้โรงเรียนนาค้อเหนือได้ตระหนักและเห็นความสำคัญในปัญหาดังกล่าว เพื่อเป็นการป้องกันและแก้ปัญหาที่ต้นเหตุ จึงจัดให้มีโครงการนี้ขึ้นมาอย่างต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนมีองค์ความรู้เกี่ยวกับโทษภัยของสารเสพติด
  2. เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการดำรงชีวิตสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้และเปิดจากยาเสพติดให้โทษตลอดจนสามารถเติบโตเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพของสังคม
  3. เพื่อให้ความรู้ผู้ปกครองเกี่ยวกับการอบรมดูแลบุตรหลานให้ปลอดภัยจากสารเสพติด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 98
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.นักเรียนมี่ความรู้เกี่ยวกับโทษภัยของสารเสพติด 2.นักเรียนมัทักษะในการดำรงชีวิตสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้และปลอดภัยจากยาเสพติดให้โทษตลอดจนสามารถเติบโตเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพของสังคม 3.ผู้ปกครองสามารถดูแลบุตรหลานให้ปลอดภัยจากยาเสพติด


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1.นักเรียนมีองค์ความรู้เกี่ยวกับโทษภัยของสารเสพติด 2.นักเรียนมีทักษะในการดำรงชีิวิตอยู่ได้และปลอดจากยาเสพติดให้โทษตลอดจนสามารถเติบโตเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพของสังคม 3.ผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับการอบรมดูแลบุตรหลานให้ปลอดภัยจากสารเสพติด

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้นักเรียนมีองค์ความรู้เกี่ยวกับโทษภัยของสารเสพติด
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการดำรงชีวิตสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้และเปิดจากยาเสพติดให้โทษตลอดจนสามารถเติบโตเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพของสังคม
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อให้ความรู้ผู้ปกครองเกี่ยวกับการอบรมดูแลบุตรหลานให้ปลอดภัยจากสารเสพติด
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 98
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 98
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีองค์ความรู้เกี่ยวกับโทษภัยของสารเสพติด (2) เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการดำรงชีวิตสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้และเปิดจากยาเสพติดให้โทษตลอดจนสามารถเติบโตเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพของสังคม (3) เพื่อให้ความรู้ผู้ปกครองเกี่ยวกับการอบรมดูแลบุตรหลานให้ปลอดภัยจากสารเสพติด

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการป้องกันแก้ปัญหาสารเสพติดในสถานศึกษา จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 60-L2984-2-6

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางรุจิรา ขุนภิบาล )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด