โครงการประชาชนร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออก
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการประชาชนร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออก ”
ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสารีหม๊ะ มะลี
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการประชาชนร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออก
ที่อยู่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4131-1-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2559 ถึง 29 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการประชาชนร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออก จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการประชาชนร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการประชาชนร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4131-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2559 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 55,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในสถานการณ์ปัจจุบันเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกซึ่งกำลังระบาดอย่างหนัก และได้คร่าชีวิตผู้คนไปเป็นจำนวนมาก ซึ่งนำความสูญเสียแก่หลายครอบครัว รวมทั้งประเทศชาติที่ต้องสูญเสียบุคลากรที่สวนใหญ่เป็นเยาวชนอันเป็นอนาคตของประเทศ ซึ่งนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช่จ่ายในการรักษาพยาบาลและความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอด และได้รับความความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน พบว่าปัญหาโรคไข้เลือดออกไม่ได้ลดลงมากนัก ยังคงเป็นปัญหาสำคัญในระดับประเทศเรื่อยมา
ด้วยโรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศมานานแล้ว โดยมียุงลายเป็นพาหะ เนื่องจากโรคนี้มีแนวโน้มการระบาดในช่วงฤดูฝนของทุกปี และพบว่าประชากรที่ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกมากที่สุด ได้แก่ กลุ่มเด็กวัยเรียนที่มีอายุตั้งแต่ 5 – 14 ปี แต่ปัจจุบัน ยังพบผู้ป่วยไข้เลือดออกในผู้ใหญ่และมีการเกิดโรคตลอดทั้งปีอีกด้วย การดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกให้ประสบผลสำเร็จและเกิดประสิทธิภาพนั้น จำเป็นต้องระดมความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการกำจัดลูกน้ำยุงลายที่เป็นพาหะนำโรคและรณรงค์ให้ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาโรคไข้เลือดออกและร่วมมือกันเฝ้าระวังป้องกันการแพร่ระบาดของโรคนี้
ด้วยยุทธศาสตร์พัฒนาระบบสุขภาพ ปี พ.ศ. 2560 – 2564 คือ “ระบบสุขภาพยั่งยืน ประชาชนสุขภาพดีเจ้าหน้าที่มีความสุข” ได้กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 1 เรื่องการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ลดปัจจัยเสี่ยงและส่งเสริมการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ โดยมีเป้าประสงค์หลัก เพื่อประชาชนทุกกลุ่มวัยได้รับการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค มีพฤติกรรมและดำรงชีวิตในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพที่ดี มีศักยภาพในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชน โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ซึ่งกำหนดตัวชี้วัดอัตราป่วยไข้เลือดออกไม่เกิน 80 ต่อแสนประชากร ประกอบกับโรคไข้เลือดออกยังคงเป็นปัญหาที่มีการแพร่ระบาดอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ไขปัญหา จากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออก เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง พร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข
ตำบลอัยเยอร์เวง เป็นตำบลหนึ่งที่พบผู้ป่วยทุกปี ดังนั้นเพื่อเป็นการเฝ้าระวังและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านวังใหม่ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อเป็นการเตรียมรับสถานการณ์การแพร่ระบาดและให้การมีการทำงานอย่างต่อเนื่อง มีประสิทธิภาพ ตลอดจนกระตุ้นเตือนให้ประชาชนในชุมชนและโรงเรียนตลอดจนทุกภาคส่วน ร่วมมือผนึกพลังความคิดความร่วมมือแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกร่วมกัน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 80 ต่อแสนประชากร
- เพื่อลดค่า CI ในโรงเรียนให้เท่ากับ 0
- เพื่อลดค่า HI ในชุมชนให้น้อยกว่า 10
- เพื่อพ่นหมอกควันกำจัดยุงลายบริเวณพื้นที่เสี่ยงระบาดซ้ำซ้อน
- เพื่อกำจัดยุงลายในรัศมี 100 เมตร ณ จุดที่พบผู้ป่วยไข้เลือดออก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
3,224
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1) จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกลดลง และอัตราป่วยไม่เกิน 80 ต่อแสนประชากร
2) ประชาชนให้ความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
3) ทำให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย
4) ทำให้สามารถลดความชุกของลูกน้ำยุงลาย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. พ่นหมอกควันทุกครัวเรือนบริเวณพื้นที่เสี่ยงระบาดซ้ำซ้อน
วันที่ 14 มีนาคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จากการดำเนินงาน พบว่า สามารถพ่นหมอกควันได้ครบถ้วนเป้าหมาย ได้แก่ 920 หลังคาเรือน และไม่พบผู้ป่่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ทำให้สามารถลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่ให้เกิน 80 ต่อแสนประชากร
2,255
2,255
2. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
วันที่ 14 มีนาคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จากการดำเนินงานรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้การควบคุมป้องกันโรค ในเขตความดูแล ทั้งสิ้นจำนวน 1,315 หลังคาเรือน พบว่า ไม่มีผู้ป่่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ความรับผิดชอบ ทำให้สามารถลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่ให้เกิน 80 ต่อแสนประชากร
3,224
3,224
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จากการดำเนินงานโครงการประชาชนร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออก โดยมีกิจกรรมพ่นหมอกควันได้ครบถ้วนเป้าหมายในเขตพื้นที่ระบาดซ้ำซ้อนจำนวน 920 หลังคาเรือน รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้การควบคุมป้องกันโรค ในเขตความดูแล ทั้งสิ้นจำนวน 1,315 หลังคาเรือน และยังได้รับความร่วมมือจากอสม.ในการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลาย โดยการใส่ทรายอะเบท แจกยาทากันยุง และสเปรย์ฉีดฆ่ายุง โดยพบว่า ไม่มีผู้ป่่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ความรับผิดชอบ ทำให้สามารถลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่ให้เกิน 80 ต่อแสนประชากร นอกจากนี้ยังทำให้ประชาชนมีความตระหนักในการดูแลตนเอง มีการสำรวจลูกน้ำยุงลายภายในบ้านและนอกบ้าน ส่งผลทำให้ลูกน้ำยุงลายลดลง ค่า HI และ CI ลดลงด้วย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 80 ต่อแสนประชากร
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อลดค่า CI ในโรงเรียนให้เท่ากับ 0
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อลดค่า HI ในชุมชนให้น้อยกว่า 10
ตัวชี้วัด :
4
เพื่อพ่นหมอกควันกำจัดยุงลายบริเวณพื้นที่เสี่ยงระบาดซ้ำซ้อน
ตัวชี้วัด :
5
เพื่อกำจัดยุงลายในรัศมี 100 เมตร ณ จุดที่พบผู้ป่วยไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
3224
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
3,224
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 80 ต่อแสนประชากร (2) เพื่อลดค่า CI ในโรงเรียนให้เท่ากับ 0 (3) เพื่อลดค่า HI ในชุมชนให้น้อยกว่า 10 (4) เพื่อพ่นหมอกควันกำจัดยุงลายบริเวณพื้นที่เสี่ยงระบาดซ้ำซ้อน (5) เพื่อกำจัดยุงลายในรัศมี 100 เมตร ณ จุดที่พบผู้ป่วยไข้เลือดออก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการประชาชนร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออก จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4131-1-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวสารีหม๊ะ มะลี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการประชาชนร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออก ”
ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสารีหม๊ะ มะลี
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4131-1-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2559 ถึง 29 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการประชาชนร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออก จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการประชาชนร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการประชาชนร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4131-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2559 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 55,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในสถานการณ์ปัจจุบันเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกซึ่งกำลังระบาดอย่างหนัก และได้คร่าชีวิตผู้คนไปเป็นจำนวนมาก ซึ่งนำความสูญเสียแก่หลายครอบครัว รวมทั้งประเทศชาติที่ต้องสูญเสียบุคลากรที่สวนใหญ่เป็นเยาวชนอันเป็นอนาคตของประเทศ ซึ่งนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช่จ่ายในการรักษาพยาบาลและความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอด และได้รับความความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน พบว่าปัญหาโรคไข้เลือดออกไม่ได้ลดลงมากนัก ยังคงเป็นปัญหาสำคัญในระดับประเทศเรื่อยมา ด้วยโรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศมานานแล้ว โดยมียุงลายเป็นพาหะ เนื่องจากโรคนี้มีแนวโน้มการระบาดในช่วงฤดูฝนของทุกปี และพบว่าประชากรที่ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกมากที่สุด ได้แก่ กลุ่มเด็กวัยเรียนที่มีอายุตั้งแต่ 5 – 14 ปี แต่ปัจจุบัน ยังพบผู้ป่วยไข้เลือดออกในผู้ใหญ่และมีการเกิดโรคตลอดทั้งปีอีกด้วย การดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกให้ประสบผลสำเร็จและเกิดประสิทธิภาพนั้น จำเป็นต้องระดมความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการกำจัดลูกน้ำยุงลายที่เป็นพาหะนำโรคและรณรงค์ให้ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาโรคไข้เลือดออกและร่วมมือกันเฝ้าระวังป้องกันการแพร่ระบาดของโรคนี้ ด้วยยุทธศาสตร์พัฒนาระบบสุขภาพ ปี พ.ศ. 2560 – 2564 คือ “ระบบสุขภาพยั่งยืน ประชาชนสุขภาพดีเจ้าหน้าที่มีความสุข” ได้กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 1 เรื่องการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ลดปัจจัยเสี่ยงและส่งเสริมการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ โดยมีเป้าประสงค์หลัก เพื่อประชาชนทุกกลุ่มวัยได้รับการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค มีพฤติกรรมและดำรงชีวิตในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพที่ดี มีศักยภาพในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชน โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ซึ่งกำหนดตัวชี้วัดอัตราป่วยไข้เลือดออกไม่เกิน 80 ต่อแสนประชากร ประกอบกับโรคไข้เลือดออกยังคงเป็นปัญหาที่มีการแพร่ระบาดอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ไขปัญหา จากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออก เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง พร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข ตำบลอัยเยอร์เวง เป็นตำบลหนึ่งที่พบผู้ป่วยทุกปี ดังนั้นเพื่อเป็นการเฝ้าระวังและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านวังใหม่ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อเป็นการเตรียมรับสถานการณ์การแพร่ระบาดและให้การมีการทำงานอย่างต่อเนื่อง มีประสิทธิภาพ ตลอดจนกระตุ้นเตือนให้ประชาชนในชุมชนและโรงเรียนตลอดจนทุกภาคส่วน ร่วมมือผนึกพลังความคิดความร่วมมือแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกร่วมกัน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 80 ต่อแสนประชากร
- เพื่อลดค่า CI ในโรงเรียนให้เท่ากับ 0
- เพื่อลดค่า HI ในชุมชนให้น้อยกว่า 10
- เพื่อพ่นหมอกควันกำจัดยุงลายบริเวณพื้นที่เสี่ยงระบาดซ้ำซ้อน
- เพื่อกำจัดยุงลายในรัศมี 100 เมตร ณ จุดที่พบผู้ป่วยไข้เลือดออก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 3,224 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1) จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกลดลง และอัตราป่วยไม่เกิน 80 ต่อแสนประชากร 2) ประชาชนให้ความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก 3) ทำให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย 4) ทำให้สามารถลดความชุกของลูกน้ำยุงลาย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. พ่นหมอกควันทุกครัวเรือนบริเวณพื้นที่เสี่ยงระบาดซ้ำซ้อน |
||
วันที่ 14 มีนาคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงาน พบว่า สามารถพ่นหมอกควันได้ครบถ้วนเป้าหมาย ได้แก่ 920 หลังคาเรือน และไม่พบผู้ป่่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ทำให้สามารถลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่ให้เกิน 80 ต่อแสนประชากร
|
2,255 | 2,255 |
2. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก |
||
วันที่ 14 มีนาคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้การควบคุมป้องกันโรค ในเขตความดูแล ทั้งสิ้นจำนวน 1,315 หลังคาเรือน พบว่า ไม่มีผู้ป่่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ความรับผิดชอบ ทำให้สามารถลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่ให้เกิน 80 ต่อแสนประชากร
|
3,224 | 3,224 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จากการดำเนินงานโครงการประชาชนร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออก โดยมีกิจกรรมพ่นหมอกควันได้ครบถ้วนเป้าหมายในเขตพื้นที่ระบาดซ้ำซ้อนจำนวน 920 หลังคาเรือน รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้การควบคุมป้องกันโรค ในเขตความดูแล ทั้งสิ้นจำนวน 1,315 หลังคาเรือน และยังได้รับความร่วมมือจากอสม.ในการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลาย โดยการใส่ทรายอะเบท แจกยาทากันยุง และสเปรย์ฉีดฆ่ายุง โดยพบว่า ไม่มีผู้ป่่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ความรับผิดชอบ ทำให้สามารถลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่ให้เกิน 80 ต่อแสนประชากร นอกจากนี้ยังทำให้ประชาชนมีความตระหนักในการดูแลตนเอง มีการสำรวจลูกน้ำยุงลายภายในบ้านและนอกบ้าน ส่งผลทำให้ลูกน้ำยุงลายลดลง ค่า HI และ CI ลดลงด้วย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 80 ต่อแสนประชากร ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อลดค่า CI ในโรงเรียนให้เท่ากับ 0 ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อลดค่า HI ในชุมชนให้น้อยกว่า 10 ตัวชี้วัด : |
|
|||
4 | เพื่อพ่นหมอกควันกำจัดยุงลายบริเวณพื้นที่เสี่ยงระบาดซ้ำซ้อน ตัวชี้วัด : |
|
|||
5 | เพื่อกำจัดยุงลายในรัศมี 100 เมตร ณ จุดที่พบผู้ป่วยไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 3224 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 3,224 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 80 ต่อแสนประชากร (2) เพื่อลดค่า CI ในโรงเรียนให้เท่ากับ 0 (3) เพื่อลดค่า HI ในชุมชนให้น้อยกว่า 10 (4) เพื่อพ่นหมอกควันกำจัดยุงลายบริเวณพื้นที่เสี่ยงระบาดซ้ำซ้อน (5) เพื่อกำจัดยุงลายในรัศมี 100 เมตร ณ จุดที่พบผู้ป่วยไข้เลือดออก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการประชาชนร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออก จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4131-1-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวสารีหม๊ะ มะลี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......