โครงการรวมพลังสตรีดูแลเต้านมในชุมชนปี 2561
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรวมพลังสตรีดูแลเต้านมในชุมชนปี 2561 ”
หมู่ที่ 1 5 6 8 9 ตำบลท่าข้าม อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลปะเหลียน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าข้าม
สิงหาคม 2561
ชื่อโครงการ โครงการรวมพลังสตรีดูแลเต้านมในชุมชนปี 2561
ที่อยู่ หมู่ที่ 1 5 6 8 9 ตำบลท่าข้าม อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-L1480-1-11 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 สิงหาคม 2561 ถึง 17 สิงหาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรวมพลังสตรีดูแลเต้านมในชุมชนปี 2561 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 1 5 6 8 9 ตำบลท่าข้าม อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าข้าม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรวมพลังสตรีดูแลเต้านมในชุมชนปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรวมพลังสตรีดูแลเต้านมในชุมชนปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 1 5 6 8 9 ตำบลท่าข้าม อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1480-1-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 สิงหาคม 2561 - 17 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 5,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าข้าม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
มะเร็งเต้านมเป็นสาเหตุการตายของสตรีไทย มะเร็งพบมากในสตรีอายุ ๓๐ – ๗๐ ปี และพบว่าร้อยละ ๘๐ เป็นมะเร็งเต้านมในระยะที่เป็นมากแล้ว ทำให้โอกาสมีชีวิตรอดน้อย ดังนั้น เพื่อลดสูญเสียชีวิตก่อนเวลาอันสมควร ตลอดจนการสูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาจำนวนมาก ทำให้ต้องทำงานเชิงรุกโดยการค้นหาก้อนผิดปกติที่เต้านมในระยะเริ่มต้น การตรวจเต้านมด้วยตนเองจึงเป็นการเฝ้าระวังและดูแลตนเองของสตรีที่ช่วยให้สามารถค้นพบความผิดปกติ ถ้าพบในระยะแรกของการป่วยและถ้าประชาชนสตรีได้รับความรู้ รู้จักวีธีการตรวจเต้านมด้วยตนเองและมีทักษะการตรวจเต้านมได้อย่างถูกต้อง มีพฤติกรรมการดูแลตนเอง ตรวจเต้านมตนเองทุกเดือน เพื่อค้นหาความผิดปกติของเต้านม ก็จะเป็นการลดความรุนแรงและอัตราการตายจากมะเร็งเต้านมลดลงได้
จากการดำเนินงานตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมของศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปะเหลียนปีพ.ศ.๒๕๖๐ จำนวน ๙๑๓ รายพบความผิดปกติที่ส่งพบแพทย์จำนวน ๗ รายไม่พบผู้ป่วยมะเร็งเต้านมการตรวจมะเร็งเต้านมอย่างถูกต้องและสม่ำเสมอจะได้พบก้อนที่สงสัยตั้งแต่ระยะเริ่มต้น เพื่อที่จะรักษาให้หายขาดได้ (Early detection Early Protection) การให้ความรู้แก่สตรีไทยเพื่อการตรวจเต้านมด้วยตนเอง โรคมะเร็งเต้านมเห็นความสำคัญในการป้องกันมากกว่าการรักษาโรค โดยเฉพาะการตรวจคัดกรองค้นหาโรคระยะแรกในสตรีกลุ่มเป้าหมายซึ่งเป็นวิธีหนึ่งที่สามารถลดอัตราอุบัติการณ์มะเร็งเต้านมรายใหม่ได้ แกนนำสตรีต้องมีความรู้และมีทักษะในเรื่องการตรวจเต้านมด้วยตนเองและต่อเนื่อง เมื่อพบความผิดปกติของเต้านม ให้เข้ารับการตรวจวินิจฉัย ส่งต่อและรักษาอย่างทันท่วงที เพื่อให้ครอบคลุมกลุ่มสตรี ๓๐-๗๐ ปีทั้งหมด โดยอาศัยอุปกรณ์สื่อเต้านมจำลอง เพื่อใช้เป็นสื่อในการสอนการตรวจเต้านมให้เป็นสิ่งที่เข้าใจง่ายขึ้น สามารถนำเต้านมจำลองไปให้ความรู้แก่สตรีกลุ่มเป้าหมายได้อย่างครอบคลุมมากยิ่งขึ้น พร้อมทำให้สตรีกลุ่มเป้าหมายเกิดความมั่นใจในการตรวจเต้านมได้อย่างถูกต้อง ลดอัตราตายด้วยโรคมะเร็งเต้านม มีผลดีต่อภาวะสุขภาพและส่งผลดีต่อภาวะเศรษฐกิจสังคมของประเทศชาติได้
ดังนั้นศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปะเหลียน เล็งเห็นความสำคัญจึงจัดทำโครงการรวมพลังสตรีดูแลเต้านมในชุมชนปี ๒๕๖๑ ครั้งนี้ มุ่งเน้นการคัดกรองก้อนผิดปกติที่เต้านมในกลุ่มสตรีอายุ ๓๐ – ๗๐ปี ร่วมกับให้ความรู้ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองให้ห่างไกลมะเร็ง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ 1/2 วัน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- สตรีอายุ 30 - 70 ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งเต้านม และมีทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเอง และได้รับการตรวจพบมะเร็งในระยะเริ่มต้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ 1/2 วัน
วันที่ 17 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ 1/2 วัน ให้แก่สตรีแกนนำอายุ 30-70 ปี จำนวน 50 คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
แกนนำสตรีได้รับความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านม ได้รับความรู้การตรวจเต้านมด้วยตนเองและฝึกทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้อง
50
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
50
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ 1/2 วัน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการรวมพลังสตรีดูแลเต้านมในชุมชนปี 2561 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-L1480-1-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( โรงพยาบาลปะเหลียน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรวมพลังสตรีดูแลเต้านมในชุมชนปี 2561 ”
หมู่ที่ 1 5 6 8 9 ตำบลท่าข้าม อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลปะเหลียน
สิงหาคม 2561
ที่อยู่ หมู่ที่ 1 5 6 8 9 ตำบลท่าข้าม อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-L1480-1-11 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 สิงหาคม 2561 ถึง 17 สิงหาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรวมพลังสตรีดูแลเต้านมในชุมชนปี 2561 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 1 5 6 8 9 ตำบลท่าข้าม อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าข้าม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรวมพลังสตรีดูแลเต้านมในชุมชนปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรวมพลังสตรีดูแลเต้านมในชุมชนปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 1 5 6 8 9 ตำบลท่าข้าม อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1480-1-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 สิงหาคม 2561 - 17 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 5,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าข้าม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
มะเร็งเต้านมเป็นสาเหตุการตายของสตรีไทย มะเร็งพบมากในสตรีอายุ ๓๐ – ๗๐ ปี และพบว่าร้อยละ ๘๐ เป็นมะเร็งเต้านมในระยะที่เป็นมากแล้ว ทำให้โอกาสมีชีวิตรอดน้อย ดังนั้น เพื่อลดสูญเสียชีวิตก่อนเวลาอันสมควร ตลอดจนการสูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาจำนวนมาก ทำให้ต้องทำงานเชิงรุกโดยการค้นหาก้อนผิดปกติที่เต้านมในระยะเริ่มต้น การตรวจเต้านมด้วยตนเองจึงเป็นการเฝ้าระวังและดูแลตนเองของสตรีที่ช่วยให้สามารถค้นพบความผิดปกติ ถ้าพบในระยะแรกของการป่วยและถ้าประชาชนสตรีได้รับความรู้ รู้จักวีธีการตรวจเต้านมด้วยตนเองและมีทักษะการตรวจเต้านมได้อย่างถูกต้อง มีพฤติกรรมการดูแลตนเอง ตรวจเต้านมตนเองทุกเดือน เพื่อค้นหาความผิดปกติของเต้านม ก็จะเป็นการลดความรุนแรงและอัตราการตายจากมะเร็งเต้านมลดลงได้
จากการดำเนินงานตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมของศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปะเหลียนปีพ.ศ.๒๕๖๐ จำนวน ๙๑๓ รายพบความผิดปกติที่ส่งพบแพทย์จำนวน ๗ รายไม่พบผู้ป่วยมะเร็งเต้านมการตรวจมะเร็งเต้านมอย่างถูกต้องและสม่ำเสมอจะได้พบก้อนที่สงสัยตั้งแต่ระยะเริ่มต้น เพื่อที่จะรักษาให้หายขาดได้ (Early detection Early Protection) การให้ความรู้แก่สตรีไทยเพื่อการตรวจเต้านมด้วยตนเอง โรคมะเร็งเต้านมเห็นความสำคัญในการป้องกันมากกว่าการรักษาโรค โดยเฉพาะการตรวจคัดกรองค้นหาโรคระยะแรกในสตรีกลุ่มเป้าหมายซึ่งเป็นวิธีหนึ่งที่สามารถลดอัตราอุบัติการณ์มะเร็งเต้านมรายใหม่ได้ แกนนำสตรีต้องมีความรู้และมีทักษะในเรื่องการตรวจเต้านมด้วยตนเองและต่อเนื่อง เมื่อพบความผิดปกติของเต้านม ให้เข้ารับการตรวจวินิจฉัย ส่งต่อและรักษาอย่างทันท่วงที เพื่อให้ครอบคลุมกลุ่มสตรี ๓๐-๗๐ ปีทั้งหมด โดยอาศัยอุปกรณ์สื่อเต้านมจำลอง เพื่อใช้เป็นสื่อในการสอนการตรวจเต้านมให้เป็นสิ่งที่เข้าใจง่ายขึ้น สามารถนำเต้านมจำลองไปให้ความรู้แก่สตรีกลุ่มเป้าหมายได้อย่างครอบคลุมมากยิ่งขึ้น พร้อมทำให้สตรีกลุ่มเป้าหมายเกิดความมั่นใจในการตรวจเต้านมได้อย่างถูกต้อง ลดอัตราตายด้วยโรคมะเร็งเต้านม มีผลดีต่อภาวะสุขภาพและส่งผลดีต่อภาวะเศรษฐกิจสังคมของประเทศชาติได้
ดังนั้นศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปะเหลียน เล็งเห็นความสำคัญจึงจัดทำโครงการรวมพลังสตรีดูแลเต้านมในชุมชนปี ๒๕๖๑ ครั้งนี้ มุ่งเน้นการคัดกรองก้อนผิดปกติที่เต้านมในกลุ่มสตรีอายุ ๓๐ – ๗๐ปี ร่วมกับให้ความรู้ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองให้ห่างไกลมะเร็ง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ 1/2 วัน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- สตรีอายุ 30 - 70 ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งเต้านม และมีทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเอง และได้รับการตรวจพบมะเร็งในระยะเริ่มต้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ 1/2 วัน |
||
วันที่ 17 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ 1/2 วัน ให้แก่สตรีแกนนำอายุ 30-70 ปี จำนวน 50 คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นแกนนำสตรีได้รับความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านม ได้รับความรู้การตรวจเต้านมด้วยตนเองและฝึกทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้อง
|
50 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ 1/2 วัน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรวมพลังสตรีดูแลเต้านมในชุมชนปี 2561 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-L1480-1-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( โรงพยาบาลปะเหลียน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......