โครงการคัดกรองตาต้อกระจกในผู้สูงอายุ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการคัดกรองตาต้อกระจกในผู้สูงอายุ ”
ตำบลเรียง อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสายธารา สุหลง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เรียง
ธันวาคม 2561
ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองตาต้อกระจกในผู้สูงอายุ
ที่อยู่ ตำบลเรียง อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 2561-L2513-1-08 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2561 ถึง 31 ธันวาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคัดกรองตาต้อกระจกในผู้สูงอายุ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเรียง อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เรียง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองตาต้อกระจกในผู้สูงอายุ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคัดกรองตาต้อกระจกในผู้สูงอายุ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเรียง อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 2561-L2513-1-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2561 - 31 ธันวาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เรียง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคตาต้อกระจกเป็นปัญหาทางสายตาที่มีผลต่อประชาคมโลกมานานแล้ว จากการประเมินของ WHO
(ข้อมูล ณ วันที่ 5 ธันวาคม 2557) พบว่าทั่วโลกมีประชากรตาบอด 39 ล้านคน ส่วนใหญ่อยู่ในประเทศกำลังพัฒนาร้อยละ 90 และประชากรร้อยละ 80 เป็นโรคตาบอด ซึ่งสามารถป้องกันได้และหากไม่มีมาตรการที่มีประสิทธิภาพในการแก้ไข คาดว่าคนตาบอดจะเพิ่มขึ้นเป็น 76 ล้านคนในปี พ.ศ.2563 และ WHO ได้กำหนดวิสัยทัศน์ : vision 2020 : The Right to Sigh by The Year 2020 เพื่อให้ประเทศสมาชิกตระหนักและเร่งแก้ไขปัญหาดังกล่าว สำหรับประเทศไทย ด้านกระทรวงสาธารณสุขในฐานะผู้รับผิดชอบสุขภาวะของประชาชน ตระหนักถึงความสำคัญและผลกระทบปัญหาโรคตาบอดจากต้อกระจกจึงได้ตั้งเป้าลดอัตราความชุกของตาบอดให้ต่ำกว่าร้อยละ 0.5 ตามเกณฑ์ขององค์การอนามัยโลก และกำหนดเป็นนโยบายเร่งรัดขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติให้เห็นผลในระยะสั้น ดำเนินการได้ทันทีเพื่อส่งเสริมและเพิ่มการเข้าถึงบริการ ลดการรอคิวผ่าตัด ลดภาวะแทรกซ้อน และความพิการตลอดจนการเพิ่มคุณภาพชีวิตให้แก่ผู้สูงอายุ จากข้อมูลการคัดกรองโรคตาต้อกระจกในผู้สูงอายุ ปี 2560 ในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านซือเลาะ พบว่ามีผู้สูงอายุทั้งหมดจำนวน ๑๕๔ คน มีผู้สูงอายุที่เข้ารับบริการคัดกรองผู้ป่วยโรคตาต้อกระจกจำนวน 120 คนหรือร้อยละ 52.17 พบผู้สูงอายุที่มีสายตาผิดปกติและได้รับการส่งต่อเพื่อรับการรักษาต่อ จำนวน 45 คน หรือร้อยละ 37.5 จากภาพรวมของข้อมูลสังเกตได้ว่าผู้สูงอายุยังขาดความรู้ ความตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเอง อีกทั้งการตรวจคัดกรองสายตาของผู้สูงอายุจำเป็นต้องได้รับการตรวจคัดกรองอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง เนื่องจาก พบว่า โรคสำคัญที่ทำให้ผู้ป่วยสูญเสียการมองเห็นมากที่สุด ได้แก่ โรคต้อกระจก โรคต้อหิน และภาวะจอประสาทตาเสื่อมจากเบาหวานขึ้นตา ตามลำดับ ซึ่งโรคดังกล่าวเป็นโรคที่ไม่มีอาการแสดง หรืออาการนำใดๆ ของโรคในระยะแรกจึงทำให้ผู้สูงอายุ หรือผู้ป่วยมักละเลย ลดความตระหนักในการรักษาดูแลสุขภาพของดวงตา ด้วยเหตุนี้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านซือเลาะ ได้ตระหนักถึงความสำคัญใน เรื่องการดูแลผู้ป่วยโรคตาต้อกระจกโดยเฉพาะในผู้สูงอายุ จึงได้จัด โครงการคัดกรองโรคตาต้อกระจกในผู้สูงอายุ ปี 2561 เพื่อให้ผู้สูงอายุเข้าถึงบริการสุขภาพ ได้รับการคัดกรองอย่างทั่วถึง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
154
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองตาต้อกระจก
๒. ผู้สูงอายุที่มีผลผิดปกติได้รับการส่งต่อและการรักษาทันทวงที
๓. อัตราตาบอดในโรคตาต้อกระจกของผู้สูงอายุลดลง
๔. ผู้สูงอายุที่ได้รับการรักษาโรคตาต้อกระจกมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
5. ผู้สูงอายุและผู้ดูแลมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลโรคเกี่ยวกับตา
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
154
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
154
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการคัดกรองตาต้อกระจกในผู้สูงอายุ จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 2561-L2513-1-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวสายธารา สุหลง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการคัดกรองตาต้อกระจกในผู้สูงอายุ ”
ตำบลเรียง อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสายธารา สุหลง
ธันวาคม 2561
ที่อยู่ ตำบลเรียง อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 2561-L2513-1-08 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2561 ถึง 31 ธันวาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคัดกรองตาต้อกระจกในผู้สูงอายุ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเรียง อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เรียง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองตาต้อกระจกในผู้สูงอายุ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคัดกรองตาต้อกระจกในผู้สูงอายุ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเรียง อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 2561-L2513-1-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2561 - 31 ธันวาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เรียง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคตาต้อกระจกเป็นปัญหาทางสายตาที่มีผลต่อประชาคมโลกมานานแล้ว จากการประเมินของ WHO (ข้อมูล ณ วันที่ 5 ธันวาคม 2557) พบว่าทั่วโลกมีประชากรตาบอด 39 ล้านคน ส่วนใหญ่อยู่ในประเทศกำลังพัฒนาร้อยละ 90 และประชากรร้อยละ 80 เป็นโรคตาบอด ซึ่งสามารถป้องกันได้และหากไม่มีมาตรการที่มีประสิทธิภาพในการแก้ไข คาดว่าคนตาบอดจะเพิ่มขึ้นเป็น 76 ล้านคนในปี พ.ศ.2563 และ WHO ได้กำหนดวิสัยทัศน์ : vision 2020 : The Right to Sigh by The Year 2020 เพื่อให้ประเทศสมาชิกตระหนักและเร่งแก้ไขปัญหาดังกล่าว สำหรับประเทศไทย ด้านกระทรวงสาธารณสุขในฐานะผู้รับผิดชอบสุขภาวะของประชาชน ตระหนักถึงความสำคัญและผลกระทบปัญหาโรคตาบอดจากต้อกระจกจึงได้ตั้งเป้าลดอัตราความชุกของตาบอดให้ต่ำกว่าร้อยละ 0.5 ตามเกณฑ์ขององค์การอนามัยโลก และกำหนดเป็นนโยบายเร่งรัดขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติให้เห็นผลในระยะสั้น ดำเนินการได้ทันทีเพื่อส่งเสริมและเพิ่มการเข้าถึงบริการ ลดการรอคิวผ่าตัด ลดภาวะแทรกซ้อน และความพิการตลอดจนการเพิ่มคุณภาพชีวิตให้แก่ผู้สูงอายุ จากข้อมูลการคัดกรองโรคตาต้อกระจกในผู้สูงอายุ ปี 2560 ในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านซือเลาะ พบว่ามีผู้สูงอายุทั้งหมดจำนวน ๑๕๔ คน มีผู้สูงอายุที่เข้ารับบริการคัดกรองผู้ป่วยโรคตาต้อกระจกจำนวน 120 คนหรือร้อยละ 52.17 พบผู้สูงอายุที่มีสายตาผิดปกติและได้รับการส่งต่อเพื่อรับการรักษาต่อ จำนวน 45 คน หรือร้อยละ 37.5 จากภาพรวมของข้อมูลสังเกตได้ว่าผู้สูงอายุยังขาดความรู้ ความตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเอง อีกทั้งการตรวจคัดกรองสายตาของผู้สูงอายุจำเป็นต้องได้รับการตรวจคัดกรองอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง เนื่องจาก พบว่า โรคสำคัญที่ทำให้ผู้ป่วยสูญเสียการมองเห็นมากที่สุด ได้แก่ โรคต้อกระจก โรคต้อหิน และภาวะจอประสาทตาเสื่อมจากเบาหวานขึ้นตา ตามลำดับ ซึ่งโรคดังกล่าวเป็นโรคที่ไม่มีอาการแสดง หรืออาการนำใดๆ ของโรคในระยะแรกจึงทำให้ผู้สูงอายุ หรือผู้ป่วยมักละเลย ลดความตระหนักในการรักษาดูแลสุขภาพของดวงตา ด้วยเหตุนี้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านซือเลาะ ได้ตระหนักถึงความสำคัญใน เรื่องการดูแลผู้ป่วยโรคตาต้อกระจกโดยเฉพาะในผู้สูงอายุ จึงได้จัด โครงการคัดกรองโรคตาต้อกระจกในผู้สูงอายุ ปี 2561 เพื่อให้ผู้สูงอายุเข้าถึงบริการสุขภาพ ได้รับการคัดกรองอย่างทั่วถึง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 154 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองตาต้อกระจก ๒. ผู้สูงอายุที่มีผลผิดปกติได้รับการส่งต่อและการรักษาทันทวงที ๓. อัตราตาบอดในโรคตาต้อกระจกของผู้สูงอายุลดลง ๔. ผู้สูงอายุที่ได้รับการรักษาโรคตาต้อกระจกมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 5. ผู้สูงอายุและผู้ดูแลมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลโรคเกี่ยวกับตา
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 154 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 154 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการคัดกรองตาต้อกระจกในผู้สูงอายุ จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 2561-L2513-1-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวสายธารา สุหลง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......