กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.ผู้เข้าร่วมโครงการมีการรับรู้ความสามารถในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้านอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการด้านอารมณ์ได้ด้วยตนเองในระดับมากขึ้นจากก่อนเข้าร่วมโครงการคิดเป็นร้อยละ 90 2.ผู้เข้าร่วมโครงการมีการกำกับพฤติกรรมสุขภาพตนเองเพิ่มขึ้นจากก่อนเข้าร่วมโครงการคิดเป็นร้อยละ 90 3.ผู้เข้าร่วมโครงการมีการดูแลสุขภาพตนเองเพิ่มขึ้นจากก่อนเข้าร่วมโครงการ คิดเป็นร้อยละ 90 4.ผู้เข้าร่วมโครงการมีค่าดัชนีมวลกายมากว่าปกติ มีน้ำหนักลดลงทำให้ดัชนีมวลกายลดลงจากก่อนเข้าร่วมโครงการ คิดเป็นร้อยละ 90 5.ผู้เข้าร่วมโครงการมีค่าความดันโลหิตสูง ลดลงจากก่อนเข้าร่วมโครงการคิดเป็นร้อยละ 90 6.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 90 ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ 1.จัดกิจกรรมฟื้นฟู อสม.และแกนนำสุขภาพครอบครัวเรื่องการคัดกรองภาวะสุขภาพของประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปเพื่อขึ้นทะเบียนประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงและผู้ป่วยรายใหม่ 2.จัดกิจกรรมคัดกรองภาวะสุขภาพประชาชนอายุ 35ปีขึ้นไปเพื่อค้นหากลุ่มดี เสี่ยง และป่วยรายใหม่ 3.จัดกิจกรรมคืนข้อมูลสุขภาพภายหลังการตรวจคัดกรอง 4.จัดกิจกรรมอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ข้อเสนอแนะ ได้แก่
จากการจัดกิจกรรมตามโครงการร่วมใจลดเสี่ยงลดโรค พบว่า หลายๆคนประสบปัญหาในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากภายหลังโครงการฯไม่มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต่อเนื่อง อาจต้องใช้วิธีหาแรงจูงใจที่จะช่วยรักษาพฤติกรรมต่อเนื่อง อาจต้องใช้วิธีหารแรงจูงใจที่จะช่วยรักษาพฤติกรรมที่ดีในการดูแลสุขภาพให้ยืนยาว เพื่อช่วยลดความเสี่ยงการเกิดโรคต่างๆได้นำมาซึ่งคุณภาพที่ดีของประชาชนชาวตำบลสะเอะ แนวทางแก้ไข 1.สร้างเครือข่ายเพื่อดำเนินการต่อในชุมชน เพื่อให้ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพและมีการติดตามอยางต่อเนื่อง 2.พัฒนาโครงการปี 2562 ในเรื่องเพิ่มแรงจูงใจในประชาชนที่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างต่อเนื่องและยืนยาว

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ