กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากการดำเนินโครงการได้รับการคืนภายหลังการตรวจคัดกรอง และเข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ที่สามารถนำไปสู่การปฏิบัติจริง กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยมีความเชื่อมั่นในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง และกลุ่มป่วยได้รับการติดตามเยี่ยมบ้านอย่างต่อเนื่องลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.ผู้เข้าร่วมโครงการมีการรับรู้ความสามารถในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้านอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการด้านอารมณ์ได้ด้วยตนเองในระดับมากขึ้นจากก่อนเข้าร่วมโครงการคิดเป็นร้อยละ 90 2.ผู้เข้าร่วมโครงการมีการกำกับพฤติกรรมสุขภาพตนเองเพิ่มขึ้นจากก่อนเข้าร่วมโครงการคิดเป็นร้อยละ 90 3.ผู้เข้าร่วมโครงการมีการดูแลสุขภาพตนเองเพิ่มขึ้นจากก่อนเข้าร่วมโครงการ คิดเป็นร้อยละ 90 4.ผู้เข้าร่วมโครงการมีค่าดัชนีมวลกายมากว่าปกติ มีน้ำหนักลดลงทำให้ดัชนีมวลกายลดลงจากก่อนเข้าร่วมโครงการ คิดเป็นร้อยละ 90 5.ผู้เข้าร่วมโครงการมีค่าความดันโลหิตสูง ลดลงจากก่อนเข้าร่วมโครงการคิดเป็นร้อยละ 90 6.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 90 ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ 1.จัดกิจกรรมฟื้นฟู อสม.และแกนนำสุขภาพครอบครัวเรื่องการคัดกรองภาวะสุขภาพของประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปเพื่อขึ้นทะเบียนประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงและผู้ป่วยรายใหม่ 2.จัดกิจกรรมคัดกรองภาวะสุขภาพประชาชนอายุ 35ปีขึ้นไปเพื่อค้นหากลุ่มดี เสี่ยง และป่วยรายใหม่ 3.จัดกิจกรรมคืนข้อมูลสุขภาพภายหลังการตรวจคัดกรอง 4.จัดกิจกรรมอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ข้อเสนอแนะ ได้แก่
จากการจัดกิจกรรมตามโครงการร่วมใจลดเสี่ยงลดโรค พบว่า หลายๆคนประสบปัญหาในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากภายหลังโครงการฯไม่มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต่อเนื่อง อาจต้องใช้วิธีหาแรงจูงใจที่จะช่วยรักษาพฤติกรรมต่อเนื่อง อาจต้องใช้วิธีหารแรงจูงใจที่จะช่วยรักษาพฤติกรรมที่ดีในการดูแลสุขภาพให้ยืนยาว เพื่อช่วยลดความเสี่ยงการเกิดโรคต่างๆได้นำมาซึ่งคุณภาพที่ดีของประชาชนชาวตำบลสะเอะ แนวทางแก้ไข 1.สร้างเครือข่ายเพื่อดำเนินการต่อในชุมชน เพื่อให้ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพและมีการติดตามอยางต่อเนื่อง 2.พัฒนาโครงการปี 2562 ในเรื่องเพิ่มแรงจูงใจในประชาชนที่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างต่อเนื่องและยืนยาว

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh