กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการแม่เด็กสุขภาพดีเริ่มทันทีก่อนตั้งครรภ์ หมู่ที่ 1,2,3,7,8 และ 9 ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2561 ”
อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ ๑,๒,๓,๗,๘ และ ๙ ต.นิคมพัฒนา




ชื่อโครงการ โครงการแม่เด็กสุขภาพดีเริ่มทันทีก่อนตั้งครรภ์ หมู่ที่ 1,2,3,7,8 และ 9 ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5296-2-27 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแม่เด็กสุขภาพดีเริ่มทันทีก่อนตั้งครรภ์ หมู่ที่ 1,2,3,7,8 และ 9 ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นิคมพัฒนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแม่เด็กสุขภาพดีเริ่มทันทีก่อนตั้งครรภ์ หมู่ที่ 1,2,3,7,8 และ 9 ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแม่เด็กสุขภาพดีเริ่มทันทีก่อนตั้งครรภ์ หมู่ที่ 1,2,3,7,8 และ 9 ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5296-2-27 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,945.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นิคมพัฒนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การฝากครรภ์เป็นจุดเริ่มต้นการพัฒนาคุณภาพประชากรเริ่มตั้งแต่อยู่ในครรภ์ เพื่อการตั้งครรภ์และการคลอดเป็นไปด้วยความราบรื่น มารดาและทารกปลอดภัย ปราศจากภาวะแทรกซ้อนและมีสุขภาพแข็งแรง ปัจจุบันประเทศไทย มีอัตราการฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์น้อยกว่า 12 สัปดาห์ ร้อยละ 45.23 และในเขต 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง ร้อยละ 56.58 จังหวัดสตูล ร้อยละ 51.11 อำเภอมะนัง ร้อยละ 52.40ต.นิคมพัฒนา ร้อยละ 77.78 และพบว่า หญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์มีภาวะโลหิตจางเมื่อมาฝากครรภ์ครั้งแรกประเทศไทย ร้อยละ 19.21เขต 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่างร้อยละ 21.82 และจังหวัดสตูล ร้อยละ 16.41อำเภอมะนัง ร้อยละ 25.42และ ตำบลนิคมพัฒนา ร้อยละ 10.47 จากข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ ที่สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียติฯ อ.มะนัง จังหวัดสตูลปี 25๖๐ พบว่า หญิงตั้งครรภ์ทั้งหมด 57 คน มีอัตราการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน ๑๒ สัปดาห์ 44 คน (ร้อยละ 77.19) หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ครบ ๕ ครั้งตามเกณฑ์ 32 คน (ร้อยละ 56.14) หญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีด ร้อยละ 8.5และพบว่าทารกที่มาคลอด น้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัม ร้อยละ 23.18 ถึงแม้ว่าสถานการณ์ของตัวชี้วัดของ พื้นที่หมู่ที่ 1,2,3,7,8 และ 9ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูลจะอยู่ในเกณฑ์ที่ดีก็ตาม แต่ยังพบหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงอยู่ ดังนั้นการพัฒนาคนให้มีคุณภาพ จึงต้องเริ่มตั้งแต่การเตรียมความพร้อมของคู่สมรส การวางแผนก่อนการตั้งครรภ์ทั้งทางด้าน ร่างกายจิตใจ อารมณ์ และสังคม และครอบครัวมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง ดูแลและเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด หลังคลอด ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขสถานีอนามัย เฉลิมพระเกียรติ ฯ ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล ประจำหมู่ที่ 1,2,3,7,8 และ 9ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล จึงจัดทำโครงการเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพในกลุ่มแม่และเด็กในพื้นที่รวมทั้งส่งเสริมครอบครัว ชุมชนให้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพอนามัยแม่และเด็กเพื่อให้เกิดความยั่งยืนตลอดไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชาสัมพันธ์
  2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการในกลุ่มวัยเจริญพันธุ์
  3. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการดูแลตนเองในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์และคู่สมรส
  4. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการดูแลตนเองในกลุ่มหญิงหลังคลอดและคู่สมรส

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 119
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 110
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด และคู่สมรส และหญิงวัยเจริญพันธ์ สามารถนำความรู้ไปใช้กับตนเองและครอบครัวได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมประชาสัมพันธ์

วันที่ 12 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลและส่งเสริมสุขภาพมารดาและทารก

 

236 0

2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการในกลุ่มวัยเจริญพันธุ์

วันที่ 12 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการในกลุ่มวัยเจริญพันธุ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กวัยเจริญพันธุ์เจริญเติบโตมีพัฒนาสมวัยทั้ง 5 ด้าน

 

126 0

3. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการดูแลตนเองในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์และคู่สมรส

วันที่ 26 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการดูแลตนเองในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์และคู่สมรส

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คู่สมรสมีความรู้ในการส่งเสริมสุขภาพ  ได้รับการคัดกรองความเสี่ยงและมีสุขภาพดีตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มารดาและทารกปลอดภัย

 

60 0

4. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการดูแลตนเองในกลุ่มหญิงหลังคลอดและคู่สมรส

วันที่ 27 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการดูแลตนเองในกลุ่มหญิงหลังคลอดและคู่สมรส

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • คู่สมรสมีความรู้ในการส่งเสริมสุขภาพ ได้รับการคัดกรองความเสี่ยงและมีสุขภาพดีตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์  เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มารดาและทารกคลอดปลอดภัย
  • ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลและส่งเสริมสุขภาพมารดาและทารก

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 229
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 119
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 110
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชาสัมพันธ์ (2) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการในกลุ่มวัยเจริญพันธุ์ (3) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการดูแลตนเองในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์และคู่สมรส (4) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการดูแลตนเองในกลุ่มหญิงหลังคลอดและคู่สมรส

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการแม่เด็กสุขภาพดีเริ่มทันทีก่อนตั้งครรภ์ หมู่ที่ 1,2,3,7,8 และ 9 ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5296-2-27

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ ๑,๒,๓,๗,๘ และ ๙ ต.นิคมพัฒนา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด