กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

account_balance

แผนงานเหล้า ปี 2562 กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลขุนหาญ

แผนงานเหล้า ปี 2562 กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลขุนหาญ
อำเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ
ประจำปีงบประมาณ 2562

stars
ข้อมูลแผนงาน
ชื่อแผนงาน แผนงานเหล้า ปี 2562 กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลขุนหาญ
ประเด็นแผนงาน แผนงานสุรา
องค์กร กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลขุนหาญ
ปีงบประมาณ 2562
stars
สถานการณ์ปัญหา
สถานการณ์ปัญหาแบบสอบถาม
navigate_before 2561 navigate_next
ขนาด
1 ร้อยละการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของเด็กและเยาวชน อายุ 15- 25 ปี ในชุมชน

 

ข้อมูลสำหรับคำนวณร้อยละสถานการณ์ปัญหาค่าบันทึก
จำนวนเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปี ในชุมชน ที่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
จำนวนเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปี ในชุมชนทั้งหมด
60.00
2 ร้อยละการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไปในชุมชน

 

ข้อมูลสำหรับคำนวณร้อยละสถานการณ์ปัญหาค่าบันทึก
จำนวนผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไปในชุมชนที่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
จำนวนผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไปในชุมชนทั้งหมด
70.00
3 ค่าใช้จ่ายในการซื้อเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เฉลี่ยต่อเดือน

 

ข้อมูลสำหรับคำนวณร้อยละสถานการณ์ปัญหาค่าบันทึก
ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือนของท่านในการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
2,000.00
4 จำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายเพื่อควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน

 

ข้อมูลสำหรับคำนวณร้อยละสถานการณ์ปัญหาค่าบันทึก
จำนวนกลุ่มหรือเครือข่าย เพื่อควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชนของท่าน
10.00
5 ปริมาณการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เฉลี่ยต่อสัปดาห์ของประชาชนในชุมชนตั้งแต่อายุ 15 ปีขึ้นไป (มิลลิลิตร) คำนวณปริมาตรไม่คำนึงถึงดีกรี

 

ข้อมูลสำหรับคำนวณร้อยละสถานการณ์ปัญหาค่าบันทึก
ปริมาณเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่ท่านดื่มต่อสัปดาห์
3,000.00
6 งบประมาณต่อปีที่ใช้ในการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

 

ข้อมูลสำหรับคำนวณร้อยละสถานการณ์ปัญหาค่าบันทึก
จำนวนเงินที่ใช้เพื่อการจัดการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชนของท่าน
10,000.00

 

stars
วัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ตัวชี้วัดขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปี ในชุมชน

ร้อยละการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของเด็กและเยาวชน อายุ 15- 25 ปี ในชุมชน

60.00 50.00
2 เพื่อลดการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไปในชุมชน

ร้อยละการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไปในชุมชน

70.00 60.00
3 เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการซื้อเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เฉลี่ยต่อเดือน

ค่าใช้จ่ายในการซื้อเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เฉลี่ยต่อเดือน

2,000.00 1,000.00
4 เพื่อเพิ่มกลุ่มหรือเครือข่ายเพื่อควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน

จำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายเพื่อควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน

10.00 20.00
5 เพื่อลดปริมาณการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของประชาชนในชุมชน

ปริมาณการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เฉลี่ยต่อสัปดาห์ของประชาชนในชุมชนตั้งแต่อายุ 15 ปีขึ้นไป (มิลลิลิตร) คำนวณปริมาตรไม่คำนึงถึงดีกรี

3,000.00 1,000.00
6 เพื่อลดงบประมาณที่ใช้ในการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

งบประมาณต่อปีที่ใช้ในการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

10,000.00 20,000.00
stars
แนวทาง/วิธีการสำคัญ
แนวทางวิธีการสำคัญ
1 เพื่อสกัดกั้นนักดื่มรายใหม่ในชุมชน โดยการคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และลดการถึงแหล่งจำหน่าย
  1. จัดตั้งทีมเฝ้าระวัง สำรวจและค้นหากลุ่มเสี่ยงหรือพื้นที่เสี่ยงต่อการมั่วสุมของเด็กและเยาวชนในชุมชน
  2. จัดทีมอาสาสมัครเพื่อการคัดกรอง (กลุ่มเสี่ยง กลุ่มดื่ม) และการบำบัดอย่างย่อในชุมชน
  3. การจัดกิจกรรมส่งเสริมการสร้างสมรรถนะแห่งตนเพื่อฝึกความสามารถในการควบคุมตนเอง/ทักษะชีวิตในการหลีกเลี่ยงสิ่งยั่วยุ/การตัดสินใจ/การปฏิเสธ/การจัดการความเครียดและการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น
  4. การจัดกิจกรรมส่งเสริมการเห็นคุณค่าแห่งตน/การใช้เวลาว่าง/การสร้างประโยชน์ให้กับชุมชน
  5. ขอความร่วมมือร้านค้าชุมชนไม่จำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ให้แก่เด็กและเยาวชนอายุต่ำกว่า 20 ปี และห้ามขายตามเวลาที่กฎหมายกำหนด
2 2. เพื่อจัดบริการช่วยเลิกเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในกลุ่มที่ดื่มแบบเสี่ยง/แบบอันตรายและแบบติดสุราเรื้อรัง

เกณฑ์การวินิจฉัยการติดสุรา     • ต้องเพิ่มปริมาณการดื่มมากขึ้น     • มีอาการทางร่างกายเมื่อไม่ได้ดื่ม     • ควบคุมการดื่มไม่ได้     • หมกมุ่นอยู่กับกับการดื่ม     • พยายามเลิกหลายครั้งแล้ว แต่เลิกไม่สำเร็จ     • มีความบกพร่องในหน้าที่ทางสังคม/การงาน     • ยังคงดื่มอยู่ทั้งๆ ที่มีผลเสียเกิดขึ้นแล้ว

วิธีการ

  1. เน้นการค้นหาและวินิจฉัยผู้มีปัญหาจากการดื่มแอลกอฮอล์ (โดยเฉพาะการดื่มแบบเสี่ยงและแบบอันตราย) ร่วมกับการทำฐานข้อมูล ของผู้ดื่มในชุมชนที่ต้องการเลิก หรือ พยายามเลิกแล้วไม่สำเร็จ
  2. การดำเนินงานเชิงรุก เช่น การจัดตั้งหน่วยบริการช่วยเลิกตระเวนบริการในชุมชน เช่น Mobile Clinic และการบำบัดแบบสั้น ที่เน้นการดูแลให้คำแนะนำเบื้องต้นแก่ผู้ดื่มแอลกอฮอล์
  3. การพัฒนาศักยภาพทีมผู้รับผิดชอบงาน โดยสามารถใช้เครื่องมือในการคัดกรองชนิดต่างๆ การติดตามเยี่ยมเยียนผู้มารับบริการในกลุ่มที่ดื่มแบบเสี่ยง/แบบอันตราย/แบบติด
  4. การจัดบริการส่งต่อผู้ดื่ม ที่มีอาการทางจิตประสาทและไม่สามารถบำบัดได้ในชุมชนไปยังหน่วยบริการสุขภาพในพื้นที่ หรือผู้ป่วยที่จำเป็นต้องใช้ยานานในขณะถอนพิษสุรา โดยเน้นการรักษาระยะยาวสำหรับผู้ที่ติดสุราเพื่อไม่ให้กลับไปใช้สุราอีก
3 พัฒนาทางเลือกในการช่วยลด ละหรือเลิกเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ตามบริบทชุมชน เช่น หมู่บ้านรักษาศีลห้า
  1. การรวมกลุ่มของผู้รู้ ปราชญ์ชุมชน ในการพัฒนาทางเลือกเพื่อช่วยเลิกที่สอดคล้องกับบริบทชุมชนและภูมิปัญญาท้องถิ่น
  2. พัฒนาทีมงานจิตอาสาในการค้นหาผู้ดื่มที่สร้างปัญหาและทำให้เกิดผลกระทบในชุมชน
  3. การออกแบบโปรแกรมที่ดำเนินการโดยชุมชน เพื่อเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการดื่มของบุคคล
4 เพื่อสร้างและพัฒนามาตรการควบคุมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน ทั้งผู้บริโภคและผู้ขาย
  1. มีคณะกรรมการชุมชน ที่ทำหน้าที่กำหนด/ประกาศ กฎ กติกา และมาตรการควบคุมการดื่มเครื่องดื่มในชุมชน เข่น งดดื่มในงานบุญ งานวัด งานแต่ง งานประเพณี และเทศกาลรื่นเริง
  2. การประกาศและการบังคับใช้ กฎ กติกา และมาตรการควบคุมทั้งการบริโภคและการจำหน่ายในชุมชน เช่น การไม่ขายให้เด็กและเยาวชน และขายตามช่วงเวลาที่กฎหมายกำหนดเท่านั้น
  3. มีกรรมการชุมชนทำหน้าที่ติดตามประเมินผล การปฏิบัติตามมาตรการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน
  4. กำหนดมาตรการชุมชนโดยการไม่รับการอุปถัมภ์กิจกรรมด้านกีฬาหรือด้านศิลปวัฒนธรรมที่มาจากอุตสาหกรรมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
  5. ให้ผู้มีอำนาจตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องมีอำนาจเพิกถอนใบอนุญาต หรือสั่งปิดร้านจำหน่ายสุราที่ไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย
  6. สนับสนุนให้ดื่มและจำหน่ายเครื่องดื่มไร้แอลกอฮอล์ (nonalcoholic cocktail) ในทุกกิจกรรมของชุมชน
5 เพื่อลดความรุนแรงจากเหตุการณ์ที่เกี่ยวเนื่องกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (เช่น การเกิดอุบัติเหตุจราจร การทะเลาะวิวาท การทำร้ายร่างกาย)
  1. การกำกับควบคุมโดยคณะกรรมการชุมชน เช่น มาตรการในการป้องกันปัญหาจากการขับรถขณะเมาสุรา (กฎการดื่มไม่ขับ) การมีจุดสุ่มตรวจแอลกอฮอล์ในชุมชน การติดตามประเมินความเรียบร้อยในชุมชนจากเหตุทะเลาะวิวาท หรือ การทำร้ายร่างกายจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
  2. การสร้างเครือข่ายเพื่อนช่วยเพื่อน หรือ สายด่วนชุมชน กรณีเกิดการก่อเหตุความรุนแรงในครัวเรือนที่มาจากการดื่มสุรา
  3. การจัดกองทุนหมู่บ้านเพื่อการเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบ โดยผู้ก่อความเสียหายมีส่วนร่วมในการจ่ายค่าชดใช้ (การลงโทษทางสังคม)
  4. กำหนดมาตรการ การเพิกถอนหรือระงับใบขับขี่ การปรับ การให้ทำงานรับใช้ชุมชนเมื่อดื่มแล้วขับ ถ้าระดับแอลกอฮอล์เกินกำหนด เช่น หากผู้ขับขี่ที่อายุไม่ถึง 20 ปีถ้ามีปริมาณแอลกอฮอล์ 20 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ให้ถือว่าเมาสุรา
paid
งบประมาณที่ตั้งไว้ตามแผนงาน (บาท)
20000.00
stars
โครงการที่ควรดำเนินการ
ชื่อโครงการย่อยประเภทผู้รับผิดชอบงบประมาณที่ตั้งไว้ (บาท)
1 โครงการลดเหล้า ลดโรค นาง อภิรัตน์ จดจำ 20,000.00
stars
โครงการที่ขอการสนับสนุนจากกองทุน
ปีงบประมาณชื่อพัฒนาโครงการประเภทองค์กรรับผิดชอบงบประมาณ (บาท)
1 2562 โครงการลด ละ เลิกเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เทศบาลตำบลขุนหาญ 10,000.00
รวม 10,000.00
stars
โครงการที่ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนเพื่อติดตาม
ยังไม่มีโครงการที่ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนเพื่อติดตามของแผนในปีนี้