กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเขารูปช้าง


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพดี สำหรบผู้สูงอายุ ”

ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายสมชาย เพ็ญศิริ

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพดี สำหรบผู้สูงอายุ

ที่อยู่ ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5215-3-1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพดี สำหรบผู้สูงอายุ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเขารูปช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพดี สำหรบผู้สูงอายุ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพดี สำหรบผู้สูงอายุ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L5215-3-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 388,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเขารูปช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

คำว่าสุขภาพตามพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติพ.ศ 2550 หมายถึงภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งกาย ทางจิตทางปัญญาและทางสังคมเชื่อมโยงกันเป็นองค์กรเรือนอย่างสมดุลคำว่าสุขภาพไม่ได้หมายถึงเฉพาะสุขภาพทางกายและทางจิตเท่านั้นแต่ยังรวมถึงสุขภาพทางสังคมและทางปัญญาอีกด้วยการมีสุขภาพจึงเป็นรากฐานที่สำคัญของชีวิตซึ่งการมีสุขภาพดีเป็นสิ่งที่ทุกคนปรารถนาผู้ที่มีสุขภาพกายและใจดีจะสามารถปฏิบัติหน้าที่ประจำวันได้ดีมีประสิทธิภาพและดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขและความสำเร็จ   สุขภาพทางกายดี หมายถึง สภาพที่ดีของร่างกายกล่าวคืออวัยวะต่างๆอยู่ในสภาพที่ดีมีความแข็งแรงสมบูรณ์ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บร่างกายสามารถทำงานได้ตามปกติและมีความสัมพันธ์กับทุกส่วนเป็นอย่างดีและก่อให้เกิดประสิทธิภาพที่ดีในการทำงาน
  สุขภาพทางจิตดี หมายถึง สภาพทางจิตใจที่สามารถควบคุมอารมณ์ได้มีจิตใจเบิกบานแจ่มใสมีให้เกิดความคับข้องหรือขัดแย้งในจิตใจสามารถปรับตัวกับสังคมและสิ่งแวดล้อมได้อย่างมีสุขสามารถควบคุมอารมณ์ได้เหมาะสมกับสถานการณ์ต่างๆซึ่งผู้มีสุขภาพจิตดีย่อมมีผลมาจากสุขภาพกายดีด้วย   สุขภาพทางสังคม หมายถึง บุคคลที่มีสภาวะทางกายและจิตใจที่สมบูรณ์มีสภาพของความเป็นอยู่หรือการดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุขไม่ทำให้ผู้อื่นหรือสังคมเดือดร้อนสามารถปฏิสัมพันธ์และปรับตัวให้อยู่ในสังคมได้เป็นอย่างดีและมีความสุข   สุขภาพทางปัญญา หมายถึง สภาวะที่ดีของปัญญามีความรู้ทั่วไปรู้เท่าทันและความเข้าใจอย่างแยกแยะได้ในเหตุผลแห่งความดีความชั่วความมีประโยชน์และความมีโทษซึ่งนำไปสู่ความมีจิตอันดีงามและเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ วัยสูงอายุจะมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นหลายอย่างตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงทางร่างกายที่มองเห็นได้เช่นมีผมหงอกขาวผิวหนังเหี่ยวย่นสายตายาวหลังโค้งงอประสาทหูเสื่อมการรับรู้รสชาติอาหารเปลี่ยนไปไป ฯลฯ   หากผู้สูงอายุผ่าตัดขาดความรู้ความใส่ใจในการดูแลแล้วช่วงชีวิตที่ผู้สูงอายุจะสามารถพึ่งพาตนเองได้ก็จะลดลงไปด้วยนั่นหมายถึงผู้สูงอายุต้องกลายเป็นภาระพึ่งพิงของครอบครัวชุมชนและสังคม   กองสวัสดิการสังคมร่วมกับศูนย์ส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเทศบาลเมืองเขารูปช้างได้ตระหนักถึงความสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุเพราะเป็นเรื่องสำคัญในการพัฒนาสังคมโดยรวมประกอบกับเป็นภารกิจที่จะต้องสนับสนุนส่งเสริมดูแลเกื้อกูลผู้สูงอายุอย่างเต็มที่ ทั้งโดยนโยบายและการปฏิบัติจึงมีการส่งเสริมให้ร่วมผนึกกำลังในการพัฒนาศักยภาพชีวิตผู้สูงอายุด้วยการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุทั้ง 4 ด้านได้แก่ด้านร่างกายจิตใจสังคมและสติปัญญาโดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกชมรมทั้ง 10 ชมรมรวมทั้งผู้สูงอายุภายนอกชมรมในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองเขารูปช้าง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยนกิอจกรรมส่งเสริมสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมห้องเรียนสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ
  2. กิจกรรมเสริมสร้างสุขภาพกาย เพิ่มพลังใจให้ผู้สูงอายุ เพื่อคัดกรองสุขภาพและสาธิตการออกกำลังกายเบื้องต้น
  3. กิจกรรมเสริมสร้างสุขภาพกาย เพิ่มพลังใจให้ผู้สูงอายุ
  4. กิจกรรมเสริมสร้างสุขภาพกาย เพิ่มพลังใจให้ผู้สูงอายุ ด้วยกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิตด้วยการปฏิบัติธรรมนำสุข
  5. กิจกรรมเสริมสร้างสุขภาพ เพิ่มพลังใจให้ผู้สูงอายุ สาธิตการเล่นกีฬาเปตองเพื่อสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 1,200
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมห้องเรียนสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ

วันที่ 27 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.การดูแลสุขภาพเบื้องต้นสำหรับผู้สูงอายุ 2.สุขภาพฟันดี ชีวีมีสุข 3.สูงวัยสุขภาพดี ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย 4.การเพิ่มสมรรถภาพร่างกายในผู้สูงอายุ 5.ถอดรหัสสุขภาพ ด้วยธรรมชาติบำบัด ''วารีบำบัด'' 6.ส่งเสริมโภชนาการ ''การทำสลัดม้วนเพื่อสุขภาพ'' 7.เทคนิคการออกกำลังกายให้มีประสิทธิภาพ 8.การดูแลผู้สูงอายุทั้งทางร่างกายและจิตใจ 9.สุขภาพจิตที่ดี สร้างได้ด้วยตนเอง 10.ลีลาศเพื่อสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพเพิ่มขึ้น โดยมีสุขภาพจิตดี และสามารถปรับตัวอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข

 

50 0

2. กิจกรรมเสริมสร้างสุขภาพกาย เพิ่มพลังใจให้ผู้สูงอายุ เพื่อคัดกรองสุขภาพและสาธิตการออกกำลังกายเบื้องต้น

วันที่ 4 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมเสริมสร้างสุขภาพกาย เพิ่มพลังใจให้ผู้สูงอายุ โดยลงพื้นที่เพื่อคัดกรองสุขภาพและสาธิตการออกกำลังกายเบื้องต้นที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุตามบริบทของแต่ละชมรมๆละ 45 คน รวมจำนวน 450 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับบริการคัดกรองสุขภาพ ทั้ง 3 เรื่อง ได้แก่ การคัดกรองปัญหาสำคัญและโรคที่พบบ่อย การคัดกรองกลุ่มอาการ และการประเมินสมรรถนะ การประเมินความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน จำนวน 450 คน คิดเป็น ร้อยละ 100

 

450 0

3. กิจกรรมเสริมสร้างสุขภาพ เพิ่มพลังใจให้ผู้สูงอายุ สาธิตการเล่นกีฬาเปตองเพื่อสุขภาพ

วันที่ 15 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมเสริมสร้างสุขภาพ เพิ่มพลังใจให้ผู้สูงอายุ สาธิตการเล่นกีฬาเปตองเพื่อสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 150 คน โดยผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องงกีฬาเปตองมากขึ้น จำนวน 120 คน คิดเป็นร้อยละ 80 และมีการเพิ่มรูปแบบการออกกำลังกายด้วยเปตอง จำนวน 112 คน คิดเป็นร้อยละ 74.66 คน นอกจากนี้ยังมีการรวมกลุ่มในหมู่บ้านเพื่อออกกำลังกายในช่วงเวลา ๅ16.00-18.00 ณ สนามกีฬาเปตองหมู่บ้าน หมู่ที่ 5

 

150 0

4. กิจกรรมเสริมสร้างสุขภาพกาย เพิ่มพลังใจให้ผู้สูงอายุ

วันที่ 19 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.การฝึกทักษะการทรงตัวและฟื้นฟูข้อเท้า เพื่อป้องกันการหกล้ม ด้วยการเตะบอล 2.การฝึกทักษะเบื้องต้นในการเคลื่อนไหว และการฝึกประสาทตา ด้วยการออกกำลังกายโยนบอลลงตะกร้า 3.การฝึกทักษะการใช้กล้ามเนื้อแขน ฝึกประสาทตา ด้วยการออกกำลังกายโยนบอลข้ามคน 4.การฝึกบริหารสมองด้วยการบวกเลข นับเลข ด้วยการเล่นกีฬาลับสมองประลองปัญญา 5.การฝึกการทรงตัว กล้ามเนื้อแขน และฝึกประสาทตา ด้วยการโยนโบว์ลิ่ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วมโครงการที่มีความรู้และมีทักษะการออกกำลังกายในรูปแบบต่างๆโดยมีพฤติกรรมสุขภาพดีขึ้นจำนวน 348 คน และเห็นความสำคัญของการออกกำลังกายและมีการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น จำนวน 325 คน

 

450 0

5. กิจกรรมเสริมสร้างสุขภาพกาย เพิ่มพลังใจให้ผู้สูงอายุ ด้วยกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิตด้วยการปฏิบัติธรรมนำสุข

วันที่ 1 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมเสริมสร้างสุขภาพกาย เพิ่มพลังใจให้ผู้สูงอายุด้วยกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิตด้วยการปฏิบัติธรรมนำสุข ระหว่างวันที่ 31 กรกฎาคม - 2 สิงหาคม 2562 ณ จังหวัดกระบี่ และจังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวน 90 คน โดยจัดให้มีการศึกษาหาความรู้ ณ วัดมหาธาตุวชิรมงคล จังหวัดกระบี่และ การสวดมนต์ทำวัตรเช้า-เย็น การเดินจงกรม นั่งสมาธิ กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ เช่น กวาดขยะ ล้างห้องน้ำ ฯลฯ ณ วัดศรีทวีจังหวัดนครศรีธรรมราช

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพดีขึ้น โดยมีสุขภาพจิตดีและสามารถปรับตัวอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข รู้จักใช้ธรรมะในการดำเนินชีวิตและรู้สึกว่าตัวเองมีคุณค่า

 

90 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยนกิอจกรรมส่งเสริมสุขภาพ
ตัวชี้วัด : -ผู้เข้าร่วมกกิจกรรมสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและพมีการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 70 -ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถปรับตัวเข้าสู่สังคมโดยเข้าร่วมกิจกรรนมไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 90
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 1,200
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยนกิอจกรรมส่งเสริมสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมห้องเรียนสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ (2) กิจกรรมเสริมสร้างสุขภาพกาย เพิ่มพลังใจให้ผู้สูงอายุ เพื่อคัดกรองสุขภาพและสาธิตการออกกำลังกายเบื้องต้น (3) กิจกรรมเสริมสร้างสุขภาพกาย เพิ่มพลังใจให้ผู้สูงอายุ (4) กิจกรรมเสริมสร้างสุขภาพกาย เพิ่มพลังใจให้ผู้สูงอายุ ด้วยกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิตด้วยการปฏิบัติธรรมนำสุข (5) กิจกรรมเสริมสร้างสุขภาพ เพิ่มพลังใจให้ผู้สูงอายุ สาธิตการเล่นกีฬาเปตองเพื่อสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพดี สำหรบผู้สูงอายุ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5215-3-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสมชาย เพ็ญศิริ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด