กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต


“ โครงการ การฝากครรภ์คุณภาพ เพื่อความปลอดภัยแม่ลูก ปีงบประมาณ 2560 ”

ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน

ชื่อโครงการ โครงการ การฝากครรภ์คุณภาพ เพื่อความปลอดภัยแม่ลูก ปีงบประมาณ 2560

ที่อยู่ ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L2482-2-4 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ การฝากครรภ์คุณภาพ เพื่อความปลอดภัยแม่ลูก ปีงบประมาณ 2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ การฝากครรภ์คุณภาพ เพื่อความปลอดภัยแม่ลูก ปีงบประมาณ 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ การฝากครรภ์คุณภาพ เพื่อความปลอดภัยแม่ลูก ปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2482-2-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,500.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การฝากครรภ์เป็นสิ่งที่สำคัญและมีประโยชน์มากในสูติศาสตร์ เป็นที่ยอมรับกันทั่วไปว่าหญิงตั้งครรภ์ที่ไม่มาฝากครรภ์ ไม่ได้รับการดูแลขณะตั้งครรภ์ จากเจ้าหน้าที่สาธารณะสุข จะมีโอกาสเกิดภาวะเสี่ยงหรือได้รับอันตรายจากการตั้งครรภ์ และการคลอดมากกว่า และรุนแรงกว่าหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการตรวจครรภ์และดูแลครรภ์อย่างถูกต้องและทันเวลา และต่อเนื่องสม่ำเสมอ ภาวะเสี่ยงต่างๆอาจมีระดับของอันตรายถึงชีวิตของมารดาหรือทารกได้หากหญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลครรภ์ จากเจ้า่หน้าที่สาธารณสุข ตั้งแต่อายุครรภ์ยังน้อย และได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ รวมไปถึงสามีและญาติผู้อยู่ใกล้ชิดกับหญิงตั้งครรภ์ได้รับข้อมูลที่มีประโยชน์เกี่ยวข้องกับหญิงตั้งครรภ์ ก็จะสามารถดูแลหญิงตั้งครรภ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยลดปัญหามารดาตายจากการตกเลือดหลังคลอด ทารกตายตั้งแต่กำเนิด รวมถึงการติดเชื้อหลังคลอด ที่ส่งผลกระทบถึงชีวิตของมารดาและทารกได้ จะเห็นได้ว่าหญิงตั้งครรภ์จะสามารถดูแลครรภ์ และคลอดได้อย่างปลอดภัย มีบุตรที่มีประสิทธิภาพนั้นต้องประกอบกับปัจจัยหลายๆด้าน จากสถานการณ์งานอนามัยแม่และเด็กของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกมือบา ตำบลโฆษิต พบว่ายังมีปัญหาอีกหลายอย่าง ที่หญิงตั้งครรภ์ยังไม่ทราบหรือไม่เห็นความสำคัญ เช่นความสำคัญของการฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ก่อนอายุ 12 สัปดาห์ หากหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ล่าช้าและผลเลือดที่เจาะคัดกรองมีผลผิดปกติในบางตัว เช่นการติดเชื้อ HIV หากไม่ได้รับประทานยาต้านเชื้อแต่เนิ่นๆ เชื้อก็สามารถแพร่กระจายไปยังลูกในครรภ์ได้ หรือภาวะเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นกับหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์ขณะตั้งครรภ์ตลอดจนภาวะเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นขณะคลอด และหลังคลอด เช่นภาวะซีดขณะตั้งครรภ์ ภาวะเด็กดิ้นผิดปกติ ภาวะเลือดออกทางช่องคลอด ภาวะคลอดยาก และภาวะตกเลือดหลังคลอด การปฏิบัติตัวของหญิงตั้งครรภ์ ความสำคัญของการตรวจหลังคลอด การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่ทารก และความสำคัญของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การไม่มาฝากครรภ์ตามนัดหมาย จึงส่งผลให้ไม่สามารถดูแลครรภ์ได้ตามเกณฑ์คุณภาพของการฝากครรภ์ ปัญหาเหล่านี้หากไม่ได้รับการแก้ไขจะส่งผลกระทบถึงคุณภาพชีวิตของมารดาและทารกตั้งแต่ในระยะตั้งครรภ์ จนถึงระยะหลังคลอด รวมไปถึงพัฒนาการของเด็กหลังคลอด และอาจรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้ ดังนั้นการที่จะทำให้ชุมชน บุคคลใกล้ชิดและหญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลครรภ์ให้มีคุณภาพ และคลอดบุตรที่มีคุณภาพ จำเป็นอย่างยิ่งที่หญิงตั้งครรภ์และทุกคนที่เกี่ยวข้อง ที่จะต้องรับรู้เกี่ยวกับการดูแลหญิงตั้งครรภ์ การปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ และการดูแลตนเองและบุตรเมื่อคลอดอย่างถูกวิธี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ตั้งครรภ์และผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการปฏิบัติตัว การดูแลครรภ์ขณะตั้งครรภ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  2. 2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ เพื่อลดภาวะเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อมารดา และทารกในครรภ์
  3. 3. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลครรภ์ 5ครั้งตามเกณฑ์คุณภาพชีวิตของมารดาและทารก
  4. 4. เพื่อลดภาวะเสี่ยงที่เกิดขึ้นกับหญิงตั้งครรภ์คลอดและทารกในครรภ์ขณะคลอด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้สุขศึกษาแก่หญิงตั้งครรภ์รายใหม่พร้อมสามีหรือญาติเป็นรายกลุ่ม
  2. บริการตรวจครรภ์หญิงตั้งครรภ์ทุกครั้งที่มาฝากครรภ์และติดตามเยี่ยมบ้าน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 75
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และขณะคลอด รวมไปถึงระยะเวลาหลังคลอด
  2. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลครภ์โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
  3. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลครรภ์โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข อย่างน้อย 5 ครั้งตามเกณฑ์คุณภาพของการฝากครรภ์ไมน้อยกว่าร้อยละ 90
  4. หญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีดขณะคลอดไม่เกินร้อยละ 10

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ให้สุขศึกษาแก่หญิงตั้งครรภ์รายใหม่พร้อมสามีหรือญาติเป็นรายกลุ่ม

วันที่ 16 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
  2. จัดทำโครงการเสนอคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลโฆษิต
  3. ให้สุขศึกษาแก่หญิงตั้งครรภ์รายใหม่พร้อมสามีหรือญาติเป็นรายกลุ่ม เดือนละ 1 ครั้ง
  4. ประเมินความก้าวหน้าการตั้งครรภ์หญิงตั้งครรภ์
  5. ติดตามการเยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์
  6. สรุปผลการดำเนินงานเมื่อเสร็จสิ้นโครงการเดือนกันยายน 2560

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และขณะคลอด รวมไปถึงระยะเวลาหลังคลอด
  2. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลครภ์โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
  3. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลครรภ์โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข อย่างน้อย 5 ครั้งตามเกณฑ์คุณภาพของการฝากครรภ์ไมน้อยกว่าร้อยละ 90
  4. หญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีดขณะคลอดไม่เกินร้อยละ 10

 

75 0

2. บริการตรวจครรภ์หญิงตั้งครรภ์ทุกครั้งที่มาฝากครรภ์และติดตามเยี่ยมบ้าน

วันที่ 16 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
  2. จัดทำโครงการเสนอคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลโฆษิต
  3. ให้สุขศึกษาแก่หญิงตั้งครรภ์รายใหม่พร้อมสามีหรือญาติเป็นรายกลุ่ม เดือนละ 1 ครั้ง
  4. ประเมินความก้าวหน้าการตั้งครรภ์หญิงตั้งครรภ์
  5. ติดตามการเยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์
  6. สรุปผลการดำเนินงานเมื่อเสร็จสิ้นโครงการเดือนกันยายน 2560

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และขณะคลอด รวมไปถึงระยะเวลาหลังคลอด
  2. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลครภ์โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
  3. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลครรภ์โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข อย่างน้อย 5 ครั้งตามเกณฑ์คุณภาพของการฝากครรภ์ไมน้อยกว่าร้อยละ 90
  4. หญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีดขณะคลอดไม่เกินร้อยละ 10

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. หญิงตั้งครรภ์เข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างหญิงตั้งครรภ์ ครรภ์แรก และครรภ์หลัง เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ และการแก้ไขปัญหาของแต่ละคน จำนวน 87 คนเกินเป้าหมายที่วางไว้ จากการประเมินความรู้ความเข้าใจของหญิงตั้งครรภ์ หญิงตั้งครรภ์โดยส่วนใหญ่ มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ และขณะคลอด รวมไปถึงการปฏิบัติตัวหลังคลอด แต่เมื่อติดตามพฤติกรรมของหญิงตั้งครรภ์พบว่า บางคนยังมีพฤติกรรมและความเชื่อ ที่ไม่เหมาะสม

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ตั้งครรภ์และผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการปฏิบัติตัว การดูแลครรภ์ขณะตั้งครรภ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ปฏิบัติตนได้ถูกต้องร้อยละ 90
0.00

 

2 2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ เพื่อลดภาวะเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อมารดา และทารกในครรภ์
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ ร้อยละ 85
0.00

 

3 3. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลครรภ์ 5ครั้งตามเกณฑ์คุณภาพชีวิตของมารดาและทารก
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ร้อยละ 95
0.00

 

4 4. เพื่อลดภาวะเสี่ยงที่เกิดขึ้นกับหญิงตั้งครรภ์คลอดและทารกในครรภ์ขณะคลอด
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์คลอดลูกปลอดภัยทั้งแม่และลูกร้อยละ 100
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 75
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 75
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ตั้งครรภ์และผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการปฏิบัติตัว การดูแลครรภ์ขณะตั้งครรภ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (2) 2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ เพื่อลดภาวะเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อมารดา และทารกในครรภ์ (3) 3. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลครรภ์ 5ครั้งตามเกณฑ์คุณภาพชีวิตของมารดาและทารก (4) 4. เพื่อลดภาวะเสี่ยงที่เกิดขึ้นกับหญิงตั้งครรภ์คลอดและทารกในครรภ์ขณะคลอด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้สุขศึกษาแก่หญิงตั้งครรภ์รายใหม่พร้อมสามีหรือญาติเป็นรายกลุ่ม (2) บริการตรวจครรภ์หญิงตั้งครรภ์ทุกครั้งที่มาฝากครรภ์และติดตามเยี่ยมบ้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ การฝากครรภ์คุณภาพ เพื่อความปลอดภัยแม่ลูก ปีงบประมาณ 2560 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L2482-2-4

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด