กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการจัดตั้งศูนย์กักกันเพื่อสังเกตอาการเริ่มป่วยระดับตำบล (LOCAL QUARANTINE) และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในปีงบประมาณ 2563 ”
ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นายคำรบ ถมทอง




ชื่อโครงการ โครงการจัดตั้งศูนย์กักกันเพื่อสังเกตอาการเริ่มป่วยระดับตำบล (LOCAL QUARANTINE) และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในปีงบประมาณ 2563

ที่อยู่ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 63-L8411-05-26 เลขที่ข้อตกลง 20/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 เมษายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจัดตั้งศูนย์กักกันเพื่อสังเกตอาการเริ่มป่วยระดับตำบล (LOCAL QUARANTINE) และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในปีงบประมาณ 2563 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดตั้งศูนย์กักกันเพื่อสังเกตอาการเริ่มป่วยระดับตำบล (LOCAL QUARANTINE) และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในปีงบประมาณ 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการจัดตั้งศูนย์กักกันเพื่อสังเกตอาการเริ่มป่วยระดับตำบล (LOCAL QUARANTINE) และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในปีงบประมาณ 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 63-L8411-05-26 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 เมษายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 95,710.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ หรือที่เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "โรคอู่ฮั่น" ที่กำลังระบาดอยู่ในขณะนี้ มีความรุนแรงเทียบเท่ากับโรคซาร์สมากที่สุด ทำให้ผู้ป่วยมีอาการปอดอักเสบรุนแรงจนถึงแก่ชีวิตได้ องค์การอนามัยโลก ยังไม่สามารถหาที่มาของเชื้ออย่างชัดเจนได้ แต่สันนิษฐานว่าอาจจะมาจากเนื้อสัตว์ป่าที่ซื้อขายอยู่ และปัจจุบันเชื้อไวรัสนี้สามารถแพร่กระจายจากคนสู่คนได้แล้ว จากการถูกไอ จาม หรือสัมผัสกับสารคัดหลั่งของคนที่ป่วย ดังนั้น เราควรดูแลตนเองเพื่อให้ร่างกายห่างไกลจากเชื้อไวรัสโคโรนา จากสถานการณ์ทั่วโลกใน 17 ประเทศ และ 2 เขตปกครองพิเศษ ข้อมูล ตั้งแต่ 5 มกราคม 2563 ถึงวันที่ 29 มกราคม 2563 พบผู้ป่วย 6,066 ราย ส่วนประเทศจีน ข้อมูล ณ วันที่ 27 มกราคม 2563 พบผู้ป่วย 5,974 ราย เสียชีวิต 132 ราย ปัจจุบันสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคปอดติดเชื้อจากไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 ในหลายประเทศสร้างความกังวลให้กับประชาชน จากข้อมูล ณ วันที่ 23 มีนาคม 2563 ในประเทศไทยกระทรวงสาธารณสุข รายงานจำนวนผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อในประเทศไทย เพิ่มขึ้น 122 ราย ทำให้จำนวนสะสมอยู่ที่ 721 ราย ในจำนวนนี้ 52 ราย รักษาหายแล้ว และ 668 ราย ยังคงรับการรักษาอยู่ที่โรงพยาบาล โดยมีผู้ป่วยอาการหนัก 7 ราย มีผู้ป่วยเข้าเกณฑ์สอบสวนโรคต้องเฝ้าระวัง ตั้งแต่วันที่ 3 มกราคม 2563 ถึง 29 มกราคม 2563 มีผู้ป่วยเข้าเกณฑ์สอบสวนต้องเฝ้าระวังสะสมทั้งหมด 202 ราย คัดกรองจากสนามบิน 31 ราย มารับการรักษาที่โรงพยาบาลเอง 171 ราย อนุญาตให้กลับบ้านได้แล้ว 67 ราย ส่วนใหญ่ติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล ยังคงรักษาในโรงพยาบาล 135 ราย ข้อมูลสถานการณ์วันที่ 15 เมษายน 2563 ในพื้นที่ตำบลตาเนาะปูเตะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา เป็นพื้นที่ที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตาเนาะปูเต๊ะ มีรายงานว่าผู้เข้ารักษาตัวที่โรงพยาบาลบันนังสตา จำนวน 4 ราย กลุ่มเสี่ยง จำนวน 69 คน ซึ่งมีประวัติเดินทางกลับมาจากต่างประเทศ ซึ่งแนวทางมาตรการการควบคุมป้องกันการระบาดในพื้นที่จึงต้องดำเนินการจัดเตรียมสถานที่ควบคุมและสังเกตอาการ( Local Quarantine) ประจำตำบลตาเนาะปูเต๊ะเป็นเวลา 14 วัน และขณะนี้ในเขตพื้นที่ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ ได้มีการปิดพื้นที่ห้ามเข้า - ออกในบริเวณพื้นที่ดังกล่าวและได้จัดตั้งเวรตรวจคัดกรองในจุดดังกล่าว เพื่อไม่ให้ประชาชนในบริเวณพื้นที่ดังกล่าวมีการเข้า – ออก โดยเด็ดขาดและเพื่อควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดไปยังพื้นที่อื่นอีกด้วย ดังนั้น องค์การบริหารส่วนตำบลตาเนาะปูเต๊ะ จึงเห็นความสำคัญของปัญหาที่จะเกิดขึ้นกับประชาชนในพื้นที่ จึงขอดำเนินโครงการควบคุมป้องกันดูแลผู้เข้าข่ายการกักตัว กักกัน คุมไว้สังเกตอาการการระบาดของไวรัส โคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 โดยดำเนินกิจกรรมร่วมกันเพื่อสร้างความตระหนักในการป้องกันสุขภาพของประชาชน อาศัยการดำเนินงานส่วนร่วมของหน่วยงานรัฐ เอกชน และประชาชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึงเป็นกิจกรรมสำคัญที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. จัดหาอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ประจำศูนย์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 จัดหาวัสดุอุปกรณ์ประจำศูนย์กักกัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนได้รับการควบคุมป้องกันการระบาดโรคไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019
  2. พื้นที่ระดับตำบลได้รับการควบคุมป้องกันการระบาดโรคไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่
  3. ศูนย์กักกันเพื่อสังเกตอาการเริ่มป่วยระดับตำบลสามารถเป็นพื้นที่ควบคุมการระบาดของโรคไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่อย่างมีประสิทธิภาพและได้รับความปลอดภัย
  4. ศูนย์กักกันเพื่อสังเกตอาการเริ่มป่วยระดับตำบลมีอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ประจำศูนย์

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ 1 จัดหาวัสดุอุปกรณ์ประจำศูนย์กักกัน

วันที่ 4 ธันวาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

๓.๑ จัดทำโครงการเสนอกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลตาเนาะปูเต๊ะ                            เพื่อขออนุมัติโครงการ
๓.๒ ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
๓.๓ ดำเนินการจัดเตรียมสถานที่ควบคุมและสังเกตอาการ (Local Quarantine) ประจำองค์การบริหารส่วนตำบลตาเนาะปูเต๊ะ 3.4 ติดตามสังเกตอาการผู้เข้าข่ายการกักตัว กักกัน สังเกตอาการจำนวน 14 วัน ๓.5 รายงานผลการดำเนินงานต่อคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๗.๑ ประชาชนได้รับการควบคุมป้องกันการระบาดโรคไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019
๗.2 พื้นที่ระดับตำบลได้รับการควบคุมป้องกันการระบาดโรคไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 7.3 ศูนย์กักกันเพื่อสังเกตอาการเริ่มป่วยระดับตำบลสามารถเป็นพื้นที่ควบคุมการระบาดของโรคไวรัส            โคโรนาสายพันธุ์ใหม่อย่างมีประสิทธิภาพและได้รับความปลอดภัย 7.4 ศูนย์กักกันเพื่อสังเกตอาการเริ่มป่วยระดับตำบลมีอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ประจำศูนย์

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 จัดหาอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ประจำศูนย์
ตัวชี้วัด :
85.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) จัดหาอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ประจำศูนย์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 จัดหาวัสดุอุปกรณ์ประจำศูนย์กักกัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการจัดตั้งศูนย์กักกันเพื่อสังเกตอาการเริ่มป่วยระดับตำบล (LOCAL QUARANTINE) และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในปีงบประมาณ 2563 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 63-L8411-05-26

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายคำรบ ถมทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด