โครงการตรวจคัดกรองสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในเลือดของเกษตรกรปี2563
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการตรวจคัดกรองสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในเลือดของเกษตรกรปี2563 ”
อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางธัชกร สุทธิดาจันทร์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางแก้ว
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรองสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในเลือดของเกษตรกรปี2563
ที่อยู่ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการตรวจคัดกรองสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในเลือดของเกษตรกรปี2563 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางแก้ว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรองสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในเลือดของเกษตรกรปี2563
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการตรวจคัดกรองสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในเลือดของเกษตรกรปี2563 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางแก้ว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ถือเป็นสารเคมีอย่างหนึ่งที่มีความอันตรายอย่างยิ่ง เนื่องจากเกษตรกรส่วนใหญ่ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างแพร่หลายเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรและมีเกษตรกรส่วนมีพฤติกรรมการใช้สารเคมีฯที่ไม่ถูกต้อง ส่งผลให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพทั้งเฉียบพลันและเรื้อรัง จากการตรวจเลือดของเกษตรกรในประเทศไทย ปี พ.ศ.2560-2562 พบว่ามีผลการตรวจเลือด ไม่ปลอดภัยเฉลี่ย ร้อยละ 32.08 และมีความเสี่ยง เฉลี่ยร้อยละ62.31 (สำนักงานควบคุมโรค252) ระดับภาคใต้ พบมีผลการตรวจเลือด ไม่ปลอดภัยเฉลี่ย ร้อยละ 42.1 และมีความเสี่ยงเฉลี่ยร้อยละ 70.01 (สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม 2562) ในระดับจังหวัดพัทลุง พบมีผลการตาวจเลือดไม่ปลอดภัยเฉลี่ย ร้อยละ 51.03 รองลงมา มีความเสี่ยงเฉลี่ย ร้อย 30.15 และผลปกติเฉลี่ยร้อย 18.82 สำหรับอำเภอบางแก้ว พบมีผลการตรวจเลือดไม่ปลอดภัยเฉลี่ย ร้อย 41.02 รองลงมามีความเสี่ยเฉลี่ย ร่้อยละ 30.15 ซึ่งในพื้นที่ของเทศบาลตำบลบางแก้ว ตั้งแต่ปี 2560.2562 พบเกษตรกรมีผลการตรวจเลือดไม่ปลอดภัยเฉลี่ยร้อย 60.21 รองลงมา มีความเสี่ยงเฉลี่ยร้อยละ 30.10 และปลอดภัยร้อยละ 9.69
จากสถานการณ์ที่กล่าวมาข้างต้นจะเห็นได้ว่าผลการตรวจเลือดเพื่อหาสารเคมีในร่างกายของเกษตรกรอยู่ในระดับที่ไม่ปลอดภัยซึ่งอาจจะส่งผลรุนแรงถึงแก่ชีวิต เนื่องจากการได้รับสารเคมีส่งผลในเกิดอันตรายต่อสุขภาพทั้งแบบเรื้อรังและเฉียบพลัน โดยอาการแสดงเฉียบพลันมีตั้งแต่ระดับเล็กน้อยจนรุนแรงถึงแก่ชีวิต ขี้นอยู่กับระดับความเข้มข้น ความเป็นพิษและปริมาณที่ได้รับ ส่วนอาการเรื้อรังสารเคมีกำจัดศุตรูพืชจะสะสมในระบบต่างๆของร่างกายทำให้เกิดความผิดปกคิและโรคต่างๆเช่นมะเร็งสารเคมีกำจัดศัตรูพืชสามารถเข้าสู่ร่างกายได้หลายทาง โดยการสัมผัสทางผิวหนัง การสูดหายใจละอองที่ฟุ้งกระจายในอากาศและการรับประทานอาหารและน้ำดื่มที่มีสารเคมีปนเปื้อน ซึ่งพฤติกรรมการใช้สารเคมีที่ไม่ปลอดภัยนั้นทำให้เกษตรกรผู้อาศัยในชุมชนและผู้บริโภคมีความเสี่ยงจากการได้รับอันตรายจากสารเคมีเพิ่มขี้น
ดังนั้นจะเห็นได้ว่าสถานการณ์สารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกรในพื้นที่อำเภอบางแก้วถือว่ามีความสำคัญอย่างยิ่งเนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่ในพื้นที่มีอาชีพเกษตรกรรมและมีความเกี่ยวข้องกับการใช้สารเคมี ดังนั้นจึงได้มีการจัดทำโครงการตรวจคัดกรองสารเคมีกำจัดศัตรูพืช เพื่อให้เกษตรกรผู้ใช้สารเคมีได้รับการตรวจสารเคมีในเลือดและเพื่อให้เกษตรกรได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้สารเคมีได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับพิษจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช 2.เพื่อให้เกษตรกรผู้ใช้สารเคมีในการทำเกษตรได้รับการตรวจสารเคมีในเลือดโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 3.เพื่อให้เกษตรกรที่ตาวจพบสารเคมีคกค้างในเลือดในระดับที่เสี่ยงที่ไม่ปลอดภัยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเรื่องการใช้สารเคมีในเกษตรกรอย่างถูกตอ้งแและปลอดภัย 4.เพื่อให้เกษตรกรที่เข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดซ้ำ ภายใน 1 เดือน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ตรวจคัดกรองสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในเลือดของเกษตรกร ปี2563
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
130
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจและมีความตระหนักถุงอันตรายที่เกิดจากพิษจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช
2.เกษตรกรได้รับการตรวจสารเคมีในเลือดโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
3.เกษตรกรมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้สารเคมีได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ตรวจคัดกรองสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในเลือดของเกษตรกร ปี2563
วันที่ 3 มิถุนายน 2563กิจกรรมที่ทำ
1.ประชุมเจ้าหน้าที่เพื่อสำรวจกลุ่มเป้าหมายและชี้แจงวัตถุประสงค์
2.จัดทำโครงการเสนอขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
3.ดำเนินการจัดกิจกรรม
-กิจกรรมที่ 1
จัดประชุมเพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับพิษจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช
เจาะเลือกคัดกรองเกษตรกร
-กิจกรรมที่ 2
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันสารพิษตกค้างในเลือดของกลุ่มเสี่ยง
-กิจกรรมที่ 3
ติดตามเจาะเลือดซ้ำในเกษตรกรกลุ่มเสี่ยง ที่ตรวจเลือดพบว่ามีความเสี่ยงและไม่ปลอดภัย
4สรุปและรายงานผลโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.เกษตรมีความรู้ความเข้าใจและมีความตระหนักถึงอันตรายที่เกิดจากพิษจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช
2.เกษตรกรได้รับการตรวจสารเคมีในเลือดโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
3.เกษตรกรมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้สารเคมีได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
130
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับพิษจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช 2.เพื่อให้เกษตรกรผู้ใช้สารเคมีในการทำเกษตรได้รับการตรวจสารเคมีในเลือดโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 3.เพื่อให้เกษตรกรที่ตาวจพบสารเคมีคกค้างในเลือดในระดับที่เสี่ยงที่ไม่ปลอดภัยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเรื่องการใช้สารเคมีในเกษตรกรอย่างถูกตอ้งแและปลอดภัย 4.เพื่อให้เกษตรกรที่เข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดซ้ำ ภายใน 1 เดือน
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
130
130
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
130
130
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
0
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับพิษจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช 2.เพื่อให้เกษตรกรผู้ใช้สารเคมีในการทำเกษตรได้รับการตรวจสารเคมีในเลือดโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 3.เพื่อให้เกษตรกรที่ตาวจพบสารเคมีคกค้างในเลือดในระดับที่เสี่ยงที่ไม่ปลอดภัยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเรื่องการใช้สารเคมีในเกษตรกรอย่างถูกตอ้งแและปลอดภัย 4.เพื่อให้เกษตรกรที่เข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดซ้ำ ภายใน 1 เดือน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ตรวจคัดกรองสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในเลือดของเกษตรกร ปี2563
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการตรวจคัดกรองสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในเลือดของเกษตรกรปี2563 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางธัชกร สุทธิดาจันทร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการตรวจคัดกรองสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในเลือดของเกษตรกรปี2563 ”
อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางธัชกร สุทธิดาจันทร์
กันยายน 2563
ที่อยู่ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการตรวจคัดกรองสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในเลือดของเกษตรกรปี2563 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางแก้ว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรองสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในเลือดของเกษตรกรปี2563
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการตรวจคัดกรองสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในเลือดของเกษตรกรปี2563 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางแก้ว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ถือเป็นสารเคมีอย่างหนึ่งที่มีความอันตรายอย่างยิ่ง เนื่องจากเกษตรกรส่วนใหญ่ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างแพร่หลายเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรและมีเกษตรกรส่วนมีพฤติกรรมการใช้สารเคมีฯที่ไม่ถูกต้อง ส่งผลให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพทั้งเฉียบพลันและเรื้อรัง จากการตรวจเลือดของเกษตรกรในประเทศไทย ปี พ.ศ.2560-2562 พบว่ามีผลการตรวจเลือด ไม่ปลอดภัยเฉลี่ย ร้อยละ 32.08 และมีความเสี่ยง เฉลี่ยร้อยละ62.31 (สำนักงานควบคุมโรค252) ระดับภาคใต้ พบมีผลการตรวจเลือด ไม่ปลอดภัยเฉลี่ย ร้อยละ 42.1 และมีความเสี่ยงเฉลี่ยร้อยละ 70.01 (สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม 2562) ในระดับจังหวัดพัทลุง พบมีผลการตาวจเลือดไม่ปลอดภัยเฉลี่ย ร้อยละ 51.03 รองลงมา มีความเสี่ยงเฉลี่ย ร้อย 30.15 และผลปกติเฉลี่ยร้อย 18.82 สำหรับอำเภอบางแก้ว พบมีผลการตรวจเลือดไม่ปลอดภัยเฉลี่ย ร้อย 41.02 รองลงมามีความเสี่ยเฉลี่ย ร่้อยละ 30.15 ซึ่งในพื้นที่ของเทศบาลตำบลบางแก้ว ตั้งแต่ปี 2560.2562 พบเกษตรกรมีผลการตรวจเลือดไม่ปลอดภัยเฉลี่ยร้อย 60.21 รองลงมา มีความเสี่ยงเฉลี่ยร้อยละ 30.10 และปลอดภัยร้อยละ 9.69 จากสถานการณ์ที่กล่าวมาข้างต้นจะเห็นได้ว่าผลการตรวจเลือดเพื่อหาสารเคมีในร่างกายของเกษตรกรอยู่ในระดับที่ไม่ปลอดภัยซึ่งอาจจะส่งผลรุนแรงถึงแก่ชีวิต เนื่องจากการได้รับสารเคมีส่งผลในเกิดอันตรายต่อสุขภาพทั้งแบบเรื้อรังและเฉียบพลัน โดยอาการแสดงเฉียบพลันมีตั้งแต่ระดับเล็กน้อยจนรุนแรงถึงแก่ชีวิต ขี้นอยู่กับระดับความเข้มข้น ความเป็นพิษและปริมาณที่ได้รับ ส่วนอาการเรื้อรังสารเคมีกำจัดศุตรูพืชจะสะสมในระบบต่างๆของร่างกายทำให้เกิดความผิดปกคิและโรคต่างๆเช่นมะเร็งสารเคมีกำจัดศัตรูพืชสามารถเข้าสู่ร่างกายได้หลายทาง โดยการสัมผัสทางผิวหนัง การสูดหายใจละอองที่ฟุ้งกระจายในอากาศและการรับประทานอาหารและน้ำดื่มที่มีสารเคมีปนเปื้อน ซึ่งพฤติกรรมการใช้สารเคมีที่ไม่ปลอดภัยนั้นทำให้เกษตรกรผู้อาศัยในชุมชนและผู้บริโภคมีความเสี่ยงจากการได้รับอันตรายจากสารเคมีเพิ่มขี้น ดังนั้นจะเห็นได้ว่าสถานการณ์สารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกรในพื้นที่อำเภอบางแก้วถือว่ามีความสำคัญอย่างยิ่งเนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่ในพื้นที่มีอาชีพเกษตรกรรมและมีความเกี่ยวข้องกับการใช้สารเคมี ดังนั้นจึงได้มีการจัดทำโครงการตรวจคัดกรองสารเคมีกำจัดศัตรูพืช เพื่อให้เกษตรกรผู้ใช้สารเคมีได้รับการตรวจสารเคมีในเลือดและเพื่อให้เกษตรกรได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้สารเคมีได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับพิษจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช 2.เพื่อให้เกษตรกรผู้ใช้สารเคมีในการทำเกษตรได้รับการตรวจสารเคมีในเลือดโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 3.เพื่อให้เกษตรกรที่ตาวจพบสารเคมีคกค้างในเลือดในระดับที่เสี่ยงที่ไม่ปลอดภัยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเรื่องการใช้สารเคมีในเกษตรกรอย่างถูกตอ้งแและปลอดภัย 4.เพื่อให้เกษตรกรที่เข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดซ้ำ ภายใน 1 เดือน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ตรวจคัดกรองสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในเลือดของเกษตรกร ปี2563
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 130 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจและมีความตระหนักถุงอันตรายที่เกิดจากพิษจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช 2.เกษตรกรได้รับการตรวจสารเคมีในเลือดโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 3.เกษตรกรมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้สารเคมีได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ตรวจคัดกรองสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในเลือดของเกษตรกร ปี2563 |
||
วันที่ 3 มิถุนายน 2563กิจกรรมที่ทำ1.ประชุมเจ้าหน้าที่เพื่อสำรวจกลุ่มเป้าหมายและชี้แจงวัตถุประสงค์ 2.จัดทำโครงการเสนอขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ 3.ดำเนินการจัดกิจกรรม -กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมเพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับพิษจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช เจาะเลือกคัดกรองเกษตรกร -กิจกรรมที่ 2 ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันสารพิษตกค้างในเลือดของกลุ่มเสี่ยง -กิจกรรมที่ 3 ติดตามเจาะเลือดซ้ำในเกษตรกรกลุ่มเสี่ยง ที่ตรวจเลือดพบว่ามีความเสี่ยงและไม่ปลอดภัย 4สรุปและรายงานผลโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.เกษตรมีความรู้ความเข้าใจและมีความตระหนักถึงอันตรายที่เกิดจากพิษจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช 2.เกษตรกรได้รับการตรวจสารเคมีในเลือดโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 3.เกษตรกรมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้สารเคมีได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
|
130 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับพิษจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช 2.เพื่อให้เกษตรกรผู้ใช้สารเคมีในการทำเกษตรได้รับการตรวจสารเคมีในเลือดโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 3.เพื่อให้เกษตรกรที่ตาวจพบสารเคมีคกค้างในเลือดในระดับที่เสี่ยงที่ไม่ปลอดภัยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเรื่องการใช้สารเคมีในเกษตรกรอย่างถูกตอ้งแและปลอดภัย 4.เพื่อให้เกษตรกรที่เข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดซ้ำ ภายใน 1 เดือน ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 130 | 130 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 130 | 130 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 0 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับพิษจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช 2.เพื่อให้เกษตรกรผู้ใช้สารเคมีในการทำเกษตรได้รับการตรวจสารเคมีในเลือดโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 3.เพื่อให้เกษตรกรที่ตาวจพบสารเคมีคกค้างในเลือดในระดับที่เสี่ยงที่ไม่ปลอดภัยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเรื่องการใช้สารเคมีในเกษตรกรอย่างถูกตอ้งแและปลอดภัย 4.เพื่อให้เกษตรกรที่เข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดซ้ำ ภายใน 1 เดือน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ตรวจคัดกรองสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในเลือดของเกษตรกร ปี2563
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการตรวจคัดกรองสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในเลือดของเกษตรกรปี2563 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางธัชกร สุทธิดาจันทร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......