โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน ชุมชนปลอดโรควัณโรค ประจำปี 2563
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน ชุมชนปลอดโรควัณโรค ประจำปี 2563 ”
อำเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวจุฑามาศ พลสงคราม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองท่าช้าง
มกราคม 2563
ชื่อโครงการ โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน ชุมชนปลอดโรควัณโรค ประจำปี 2563
ที่อยู่ อำเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี จังหวัด จันทบุรี
รหัสโครงการ L822525632001 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 มกราคม 2563 ถึง 28 มกราคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน ชุมชนปลอดโรควัณโรค ประจำปี 2563 จังหวัดจันทบุรี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองท่าช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน ชุมชนปลอดโรควัณโรค ประจำปี 2563
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน ชุมชนปลอดโรควัณโรค ประจำปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี รหัสโครงการ L822525632001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 มกราคม 2563 - 28 มกราคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,015.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองท่าช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัณโรค เป็นโรคที่สามารถรักษาหายได้ หากรับประทานยาครบตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมควบคุมโรค วิธีที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดในการควบคุมการระบาดของวัณโรค ที่เสนอแนะโดยองค์การอนามัยโลก คือ DOTS (ด็อท) เป็นการรักษาผู้ป่วยด้วยระบบยาระยะสั้นโดยมีพี่เลี้ยงกำกับการรับประทานยาตลอดการรักษา ปัจุบันประเทศไทยมีอัตราผู้ป่วยวัณโรคขาดยาเกินเกณฑ์มาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข เนื่องจากขาดกำลังใจในการรักษา เนื่องจากจำนวนเม็ดยาที่จะต้องรับประทานมีจำนวนมาก ผู้ป่วยมีอาการแพ้ยา ซึ่งเกิดได้บ่อยโดยเฉพาะในช่วง 2 เดือนแรก ใช้ระยะเวลาในการรักษานาน ผู้ป่วยต้องรับประทานยาติดต่อกันนานอย่างน้อย 6 เดือน เมื่อผู้ป่วยรับประทานยาประมาณ 2 เดือน ผู้ป่วยจะรู้สึกดีขึ้นมากจนคิดว่าตัวเองหายแล้วและเลิกรับประทานยาเอง ทำให้เสี่ยงต่อการเกิดเชื้อดื้อยาวัณโรคได้
ดังนั้น การกำกับการรับประทานยาที่บ้านผู้ป่วยจึงมีความสำคัญเป็นอย่างมากซึ่งบทบาทของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านซึ่งเป็นผู้ที่ใกล้ชิดผู้ป่วย และสามารถเข้าถึงผู้ป่วยที่บ้านได้อย่างเหมาะสม ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขเทศบาลเมืองท่าช้าง เห็นถึงความสำคัญในการควบคุมโรควัณโรค โดยมุ่งเน้นให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เป็นผู้ควบคุมกำกับการกินยาที่บ้านผู้ป่วยโรควัณโรค ซึ่งจะนำไปสู่ผลสำเร็จของการรักษาโรควัณโรค และลดอัตราผู้ป่วยวัณโรคขาดยา และลดอัตราผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาในเขตเทศบาลเมืองท่าช้างได้ จึงได้จัดทำโครงการ เพื่อนช่วยเพื่อน ชุมชนปลอดโรควัณโรคขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และบุคลากรที่เกี่ยวข้องได้รับความรู้และแนวทางกำกับการรับประทานยาวัณโรคที่บ้าน
- เพื่อให้ผู้ป่วยวัณโรคปอดเสมหะบวกและผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาทุกรายได้รับการกำกับหารรับประทานยา
- เพื่อสร้างระบบการกำกับการรับประทานยาวัณโรคที่บ้าน ในเขตเทศบาลเมืองท่าช้าง ตำบลท่าช้าง อำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.มีแกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขที่มีความรู้เรื่องโรควัณโรค และสามารถควบคุมกับการกินยาผู้ป่วยวัณโรคได้อย่างถูกต้อง
2.ผู้ป่วยโรควัณโรคที่อยู่ในพื้นที่เทศบาลเมืองท่าช้าง มีอัตราการรักษาหายขาดมากกว่าร้อยละ 90
3.เพื่อให้ผู้ป่วยวัณโรคที่บ้าน ได้รับประทานยาถูกต้องครบตามขนาดที่แพทย์สั่ง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และบุคลากรที่เกี่ยวข้องได้รับความรู้และแนวทางกำกับการรับประทานยาวัณโรคที่บ้าน
ตัวชี้วัด :
0.00
2
เพื่อให้ผู้ป่วยวัณโรคปอดเสมหะบวกและผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาทุกรายได้รับการกำกับหารรับประทานยา
ตัวชี้วัด :
0.00
3
เพื่อสร้างระบบการกำกับการรับประทานยาวัณโรคที่บ้าน ในเขตเทศบาลเมืองท่าช้าง ตำบลท่าช้าง อำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และบุคลากรที่เกี่ยวข้องได้รับความรู้และแนวทางกำกับการรับประทานยาวัณโรคที่บ้าน (2) เพื่อให้ผู้ป่วยวัณโรคปอดเสมหะบวกและผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาทุกรายได้รับการกำกับหารรับประทานยา (3) เพื่อสร้างระบบการกำกับการรับประทานยาวัณโรคที่บ้าน ในเขตเทศบาลเมืองท่าช้าง ตำบลท่าช้าง อำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน ชุมชนปลอดโรควัณโรค ประจำปี 2563 จังหวัด จันทบุรี
รหัสโครงการ L822525632001
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวจุฑามาศ พลสงคราม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน ชุมชนปลอดโรควัณโรค ประจำปี 2563 ”
อำเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวจุฑามาศ พลสงคราม
มกราคม 2563
ที่อยู่ อำเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี จังหวัด จันทบุรี
รหัสโครงการ L822525632001 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 มกราคม 2563 ถึง 28 มกราคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน ชุมชนปลอดโรควัณโรค ประจำปี 2563 จังหวัดจันทบุรี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองท่าช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน ชุมชนปลอดโรควัณโรค ประจำปี 2563
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน ชุมชนปลอดโรควัณโรค ประจำปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี รหัสโครงการ L822525632001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 มกราคม 2563 - 28 มกราคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,015.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองท่าช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัณโรค เป็นโรคที่สามารถรักษาหายได้ หากรับประทานยาครบตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมควบคุมโรค วิธีที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดในการควบคุมการระบาดของวัณโรค ที่เสนอแนะโดยองค์การอนามัยโลก คือ DOTS (ด็อท) เป็นการรักษาผู้ป่วยด้วยระบบยาระยะสั้นโดยมีพี่เลี้ยงกำกับการรับประทานยาตลอดการรักษา ปัจุบันประเทศไทยมีอัตราผู้ป่วยวัณโรคขาดยาเกินเกณฑ์มาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข เนื่องจากขาดกำลังใจในการรักษา เนื่องจากจำนวนเม็ดยาที่จะต้องรับประทานมีจำนวนมาก ผู้ป่วยมีอาการแพ้ยา ซึ่งเกิดได้บ่อยโดยเฉพาะในช่วง 2 เดือนแรก ใช้ระยะเวลาในการรักษานาน ผู้ป่วยต้องรับประทานยาติดต่อกันนานอย่างน้อย 6 เดือน เมื่อผู้ป่วยรับประทานยาประมาณ 2 เดือน ผู้ป่วยจะรู้สึกดีขึ้นมากจนคิดว่าตัวเองหายแล้วและเลิกรับประทานยาเอง ทำให้เสี่ยงต่อการเกิดเชื้อดื้อยาวัณโรคได้ ดังนั้น การกำกับการรับประทานยาที่บ้านผู้ป่วยจึงมีความสำคัญเป็นอย่างมากซึ่งบทบาทของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านซึ่งเป็นผู้ที่ใกล้ชิดผู้ป่วย และสามารถเข้าถึงผู้ป่วยที่บ้านได้อย่างเหมาะสม ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขเทศบาลเมืองท่าช้าง เห็นถึงความสำคัญในการควบคุมโรควัณโรค โดยมุ่งเน้นให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เป็นผู้ควบคุมกำกับการกินยาที่บ้านผู้ป่วยโรควัณโรค ซึ่งจะนำไปสู่ผลสำเร็จของการรักษาโรควัณโรค และลดอัตราผู้ป่วยวัณโรคขาดยา และลดอัตราผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาในเขตเทศบาลเมืองท่าช้างได้ จึงได้จัดทำโครงการ เพื่อนช่วยเพื่อน ชุมชนปลอดโรควัณโรคขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และบุคลากรที่เกี่ยวข้องได้รับความรู้และแนวทางกำกับการรับประทานยาวัณโรคที่บ้าน
- เพื่อให้ผู้ป่วยวัณโรคปอดเสมหะบวกและผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาทุกรายได้รับการกำกับหารรับประทานยา
- เพื่อสร้างระบบการกำกับการรับประทานยาวัณโรคที่บ้าน ในเขตเทศบาลเมืองท่าช้าง ตำบลท่าช้าง อำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.มีแกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขที่มีความรู้เรื่องโรควัณโรค และสามารถควบคุมกับการกินยาผู้ป่วยวัณโรคได้อย่างถูกต้อง 2.ผู้ป่วยโรควัณโรคที่อยู่ในพื้นที่เทศบาลเมืองท่าช้าง มีอัตราการรักษาหายขาดมากกว่าร้อยละ 90 3.เพื่อให้ผู้ป่วยวัณโรคที่บ้าน ได้รับประทานยาถูกต้องครบตามขนาดที่แพทย์สั่ง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และบุคลากรที่เกี่ยวข้องได้รับความรู้และแนวทางกำกับการรับประทานยาวัณโรคที่บ้าน ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้ผู้ป่วยวัณโรคปอดเสมหะบวกและผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาทุกรายได้รับการกำกับหารรับประทานยา ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อสร้างระบบการกำกับการรับประทานยาวัณโรคที่บ้าน ในเขตเทศบาลเมืองท่าช้าง ตำบลท่าช้าง อำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และบุคลากรที่เกี่ยวข้องได้รับความรู้และแนวทางกำกับการรับประทานยาวัณโรคที่บ้าน (2) เพื่อให้ผู้ป่วยวัณโรคปอดเสมหะบวกและผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาทุกรายได้รับการกำกับหารรับประทานยา (3) เพื่อสร้างระบบการกำกับการรับประทานยาวัณโรคที่บ้าน ในเขตเทศบาลเมืองท่าช้าง ตำบลท่าช้าง อำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน ชุมชนปลอดโรควัณโรค ประจำปี 2563 จังหวัด จันทบุรี
รหัสโครงการ L822525632001
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวจุฑามาศ พลสงคราม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......