กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฝาละมี


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย สุขกาย สุขใจ ใกล้ธรรมะ ตำบลฝาละมี ประจำปี 2563 ”

ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายประยูร ชูแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย สุขกาย สุขใจ ใกล้ธรรมะ ตำบลฝาละมี ประจำปี 2563

ที่อยู่ ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 63-l3338-02-06 เลขที่ข้อตกลง 63-l3338-02-06

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 สิงหาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย สุขกาย สุขใจ ใกล้ธรรมะ ตำบลฝาละมี ประจำปี 2563 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฝาละมี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย สุขกาย สุขใจ ใกล้ธรรมะ ตำบลฝาละมี ประจำปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย สุขกาย สุขใจ ใกล้ธรรมะ ตำบลฝาละมี ประจำปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 63-l3338-02-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 สิงหาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 213,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฝาละมี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบัน โลกได้เข้าสู่ยุคเศรษฐกิจฐานความรู้มากขึ้น การสร้างความรู้แก่ผู้สูงอายุ เพื่อสนับสนุนกลุ่มสมาชิกผู้สูงอายุ ให้สามารถดำรงชีวิต ของผู้สูงอายุ อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับสถานการณ์ในปัจจุบัน ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของยุคสมัย เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีขวัญและกำลังใจในการเรียนรู้และสามารถเผยแพร่ ความรู้ให้แก่กลุ่มเด็กและเยาวชน เพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนรู้ในที่ต่างๆ และมีเป้าหมายที่จะพัฒนาคุณภาพและสภาพจิตผู้สูงอายุในพื้นที่ตำบลฝาละมี เป็นการส่งเสริมนโยบายในการพัฒนาการของกลุ่มผู้สูงอายุในพื้นที่ คุณภาพชีวิตเป็นเป้าหมายหลักของสังคมคือประชาชนมีสุขภาพอนามัยดีทั้งร่างกายและจิตใจทุกเพศ ทุกวัย จากการศึกษาข้อมูลพบว่าประชากรผู้สูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทั้งด้านปริมาณและสัดส่วนต่อประชากร จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ได้กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน พัฒนาผู้สูงอายุให้มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม มีคุณภาพ มีคุณค่า สามารถปรับตัวเท่าทันการเปลี่ยนแปลง เป็นพลังในการพัฒนาสังคม  ดังนั้น การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกฝ่ายจะต้องร่วมมืออย่างจริงจังและต่อเนื่องในการเตรียมความพร้อมให้ผู้สูงอายุทุกคนตลอดจนบุคคลในครอบครัวและชุมชน
ผู้สูงอายุถือว่าเป็นปูชนียบุคคลของสังคมที่มีคุณค่ายิ่งเนื่องจาก ผ่านประสบการณ์มามาก ได้เคยเป็นกำลังสำคัญของสังคมมาก่อน มีความรู้ มีทักษะ อนุรักษ์ และสืบทอด ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น วิถีชีวิตดั้งเดิม และได้ทำคุณประโยชน์แก่สังคมมาแล้วมากมาย จำเป็นอย่างยิ่งที่คนรุ่นหลังจะต้องให้ความสำคัญ ในการยกย่องให้การดูแล  ผู้สูงอายุเหล่านี้ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี สุขภาพจิต สุขภาพกายเป็นการเชิดชูเกียรติให้ผู้สูงอายุ สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านใน ตำบลฝาละมี ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญ คุณค่าของผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นผู้ที่มีคุณประโยชน์ต่อสังคม  จึงได้ดำเนินการจัดโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยและแกนนำสุขภาพ สุขกาย สุขใจ ใกล้ธรรมะ ตำบลฝาละมี ประจำปี 2563 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกัน ได้มีโอกาสเข้าอบรมพัฒนาคุณภาพชีวิต และเป็นการส่งเสริมสุขภาพทั้งด้านร่างกาย จิตใจ ของผู้สูงอายุให้ดีขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกัน ได้มีโอกาสเข้าอบรมพัฒนาคุณภาพชีวิต และเป็นการส่งเสริมสุขภาพทั้งด้านร่างกาย จิตใจ ของผู้สูงอายุให้ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อให้ผู้สูงอายุและแกนนำสุขภาพมีความรู้ความเข้าใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง
  2. 2 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุและแกนนำสุขภาพได้รับการพัฒนาด้านสุขภาพร่างกาย จิตใจ และสังคม
  3. 3 เพื่อเป็นการสร้างขวัญ และกำลังใจให้ผู้สูงอายุและแกนนำสุขภาพมีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรง เพื่อดำรงในสังคมอย่างมีคุณค่า
  4. 4 เพื่อให้ผู้สูงอายุและแกนนำสุขภาพได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ความคิดเห็นทัศนะต่างๆ ร่วมกัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 200
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. ผู้สูงอายุและแกนนำสุขภาพมีความรู้ความเข้าใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง ทั้งด้านโภชนาการ
    การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจ
    ๒. ผู้สูงอายุและแกนนำสุขภาพได้รับการพัฒนาด้านสุขภาพร่างกาย จิตใจ และสังคม
    ๓. สร้างขวัญ และกำลังใจให้ผู้สูงอายุและแกนนำสุขภาพมีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรง เพื่อดำรงในสังคมอย่างมีคุณค่า ๔. ผู้สูงอายุและแกนนำสุขภาพได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ความคิดเห็นทัศนะต่างๆ ร่วมกัน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1 เพื่อให้ผู้สูงอายุและแกนนำสุขภาพมีความรู้ความเข้าใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง
    ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและการป้องกันโรค ร้อยละ 80
    80.00

     

    2 2 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุและแกนนำสุขภาพได้รับการพัฒนาด้านสุขภาพร่างกาย จิตใจ และสังคม
    ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุเข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 มีสุขภาพจิตที่ดีขึ้น
    80.00

     

    3 3 เพื่อเป็นการสร้างขวัญ และกำลังใจให้ผู้สูงอายุและแกนนำสุขภาพมีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรง เพื่อดำรงในสังคมอย่างมีคุณค่า
    ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงมีสุขภาพจิตที่ดีขึ้นและอยู่ร่วมในครอบครัวและสังคมอย่างมีความสุข
    80.00

     

    4 4 เพื่อให้ผู้สูงอายุและแกนนำสุขภาพได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ความคิดเห็นทัศนะต่างๆ ร่วมกัน
    ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุเข้าร่วมโครงการร้อยละ 100 ได้ทำกิจกรรมด้านศาสนาร่วมกัน
    100.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 200
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้ผู้สูงอายุและแกนนำสุขภาพมีความรู้ความเข้าใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง (2) 2 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุและแกนนำสุขภาพได้รับการพัฒนาด้านสุขภาพร่างกาย จิตใจ และสังคม (3) 3 เพื่อเป็นการสร้างขวัญ และกำลังใจให้ผู้สูงอายุและแกนนำสุขภาพมีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรง เพื่อดำรงในสังคมอย่างมีคุณค่า (4) 4 เพื่อให้ผู้สูงอายุและแกนนำสุขภาพได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ความคิดเห็นทัศนะต่างๆ ร่วมกัน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย สุขกาย สุขใจ ใกล้ธรรมะ ตำบลฝาละมี ประจำปี 2563 จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 63-l3338-02-06

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายประยูร ชูแก้ว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด