กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ รหัส กปท. L5282

อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการพัฒนาการดำเนินงานแก้ไขปัญหาด้านการคุ้มครองผู้บริโภค ปีงบประมาณ 2567
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านผัง ๓๔
กลุ่มคน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านผัง ๓๔
3.
หลักการและเหตุผล

งานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข เป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการควบคุม กำกับ ดูแลและบังคับใช้กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์สุขภาพ เช่น อาหาร ยา เครื่องสำอาง ร้านขายของชำในหมู่บ้าน เป็นต้น ซึ้งในส่วนของผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพเหล่านี้มีผู้เกี่ยวข้องหลายส่วน เช่นผู้ผลิต ผู้จำหน่าย ตลอดจนผู้บริโภค โดยเฉพาะกลุ่มผู้บริโภคเป็นกลุ่มที่ได้รับผลกระทบโดยตรงจากหลงเชื่อใช้ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้รับคุณภาพ ลอกเลียนแบบ เจือปนสารอันตราย ซึ่งร้านชำในชุมชนมีแหล่งจัดจำหน่ายสินค้าทางสุขภาพหลากหลายชนิด อาทิเช่น ยาสามัญประจำบ้าน เครื่องสำอาง อาหาร บุหรี่และแอลกอฮอร์ ซึ่งผลิตภัณฑ์เหล่านี้สามารถทำให้เกิดผลเสีย ต่อผู้บริโภคได้ เช่น การจำหน่ายอาหารที่หมดอายุ อาหาร ที่ไม่มีเลขสารบนอาหาร (เลขอย.) เเละยังมีกลุ่มเครื่องสำอางที่ไม่มีเลขที่ใบรับจดแจ้ง รวมถึงเครื่องสำอางที่พบสารต้องห้าม ทั้งนี้ยังจำหน่ายยาอันตรายบางประเภทที่ห้ามจำหน่ายในร้านชำ เช่น ยาชุด ยาปลอม ยาที่ไม่มีเลขทะเบียน เป็นต้น ซึ้งผู้บริโภคส่วนใหญ่ ไม่มีความรู้เรื่องการเลือกซื้อและเลือกใช้สินค้าและผลิตภัณฑ์ที่จะส่งผลต่อผู้บริโภคได้ และในปัจจุบันการสื่อสารออนไลน์เข้ามามีบทบาทอย่างมากในกระบวนการตลาดการโฆษณา การประชาสัมพันธ์ ในกระบวนการต่างๆ จะยิ่งเสริมการบริโภค ในสังคมอย่างมาก หรือที่เรียกว่า เกิดรูปแบบที่เรียกว่าการบริโภคนิยมขึ้นในสังคม ทำให้ผู้บริโภคเกิดความต้องการที่จะบริโภค เกินกว่าความต้องการที่แท้จริง ตัวอย่างรูปธรรมที่เกิดขึ้น อาทิ การบริโภคยา หรืออาหารอย่างฟุ่มเฟือยจนบางครั้งเกิดโรคภัยไข้เจ็บจากผลิตภัณฑ์ที่บริโภคเข้าไปหรือก่อให้เกิดผลกระทบต่อเศรษฐกิจโดยรวมนอกจากนี้ในระยะยาวยังก่อให้เกิดผลกระทบต่อสมดุลด้านต่างๆในโลกเพราะยิ่งมีการบริโภคมากยิ่งขึ้นเท่าไหรก็จะยิ่งมีการทำลายทรัพยากรธรรมชาติเพื่อเข้าสู่กระบวนการผลิตมากขึ้นเท่านั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านผัง ๓๔ เป็นหน่วยบริการด้านสุขภาพภาครัฐที่ อยู่ใกล้ชิดชุมชนมากที่สุด และประกอบไปด้วยเครือข่าย ภาคประชาชนในการปฏิบัติงานด้านสุขภาพหากบุคลากรผู้ปฏิบัติงาน และเครือข่ายสามารถดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข ( คบส.) ได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ก็จะเป็นการเสริมสร้างภูมิต้านทานของผู้บริโภค ไม่ให้ถูกหลอกลวงจากผลิตภัณฑ์ หรือบริการต่างๆที่ไม่เหมาะสมได้อีกด้วย โรงพยาบาส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านผัง ๓๔ จึงได้จัดทำโครงการคุ้มครองผู้บริโภคภายใต้บริบท ที่สำคัญของงานคุ้มครองผู้บริโภค คือ การเข้าถึงบริการการดูแลต่อเนื่อง การดูแลแบบองค์รวมและผสมผสาน การประสานบริการ และยึดชุมชนเป็นศูนย์กลาง

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และ เพิ่มศักยภาพในงานคุ้มครองผู้บริโภค
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ๙๐ ของผู้เข้ารับการอบรมผ่านการทดสอบความรู้ ผ่านตามเกณฑ์ที่กำหนด
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมเฝ้าระวัง แจ้งเตือนภัย และ สามารถตรวจสอบผลิตภัณฑ์สุขภาพ ด้วยชุดทดสอบขั้นพื้นฐานในชุมชนได้
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ๙๐ ของผู้เข้ารับการอบรมผ่านการทดสอบความสามารถในการทดสอบสิ่ง ตัวอย่างเบื้องต้น
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 3. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมตรวจสอบและเฝ้าระวัง ให้ประชาชนในพื้นที่มีความปลอดภัยในด้านงานคุ้มครองผู้บริโภค
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ๙๐ ของผู้เข้ารับการอบรมสามารถรายงานผลการเฝ้าระวังและผลการทดสอบต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ ( ๓ เดือน ครั้ง )
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการ
    รายละเอียด

    ๑) ค่าวัสดุในการฝึกอบรม จำนวน ๗๐ ชุดๆละ ๕๐ บาทเป็นเงิน ๓,๕๐๐.- บาท

    (๒) ค่าชุดทดสอบ จำนวน๑๑ ชุด(รายละเอียดแนบท้าย ) เป็นเงิน ๙,๐๐๐- บาท

    (๓) ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด ๓ ตร.ม. ตร.ม. ละ ๑๕๐ บาทจำนวน ๑ ป้าย เป็นเงิน ๔๕๐.- บาท

    (๔) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน ๗๐ คน ๆ ละ ๒มื้อ ๆ ละ๓๕.- บาท เป็นเงิน ๔,๙๐๐.- บาท

    (๕) ค่าอาหารกลางวัน จำนวน๗๐คน ๆ ละ ๑ มื้อ ๆ ละ๗๐.-บาท เป็นเงิน ๔,๙๐๐.-บาท

    (๖) ค่าสมนาคุณวิทยากร บรรยาย/ฝึกปฏิบัติ/เสวนา/อภิปราย ,บุคคลรัฐ/ภาคเอกชน๖.๑ วิทยากรจาก ศวก.ตรังจำนวน๑คน ๆ จำนวน๖ชั่วโมง ๆ ละ ๖๐๐.- บาท เป็นเงิน๓,๖๐๐. บาท

    รวมกิจกรรมที่ ๑ เป็นเงิน๒๖,๓๕๐-บาท

    งบประมาณ 26,350.00 บาท
  • 2. กิจกรรมฝึกปฏิบัติงานทดสอบ ผลิตภัณฑ์ในชุมชน
    รายละเอียด

    (๑) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน  ๗๐  คน ๆ ละ ๒ มื้อ ๆ ละ ๓๕.- บาท          เป็นเงิน ๔,๙๐๐.บาท

    (๒) ค่าอาหารกลางวัน จำนวน ๗๐ คนๆละ ๑ มื้อๆละ  ๗๐.-บาท                        เป็นเงิน  ๔,๙๐๐.-บาท

    (๓) ค่าสมนาคุณวิทยากร บรรยาย/ฝึกปฏิบัติ/เสวนา/อภิปราย ,บุคคลรัฐ/ภาคเอกชน    ๓.๑ วิทยากรจาก ศวก.ตรัง  จำนวน  ๑  คน ๆ ละ  ๖  ชั่วโมง ๆ ละ ๖๐๐ บาท เป็นเงิน  ๓,๖๐๐.- บาท

    รวมกิจกรรมที่ 2 เป็นเงิน  ๑๓,๔๐๐.-บาท

    งบประมาณ 13,400.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567

8.
สถานที่ดำเนินการ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านผัง ๓๔

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 39,750.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

๑. มีศูนย์กลางเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์ด้านสุขภาพชุมชน โดยการจัดตั้งศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน

๒. ชุมชนมีองค์ความรู้ในการเลือกบริโภคผลิตภัณฑ์ด้านสุขภาพได้อย่างปลอดภัย

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ รหัส กปท. L5282

อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ รหัส กปท. L5282

อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 39,750.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................