รพ.สต.บ้านป่าบาก เมื่อ 21 ก.ค. 2568
1. ขั้นเตรียมการ
1.1 สำรวจ ศึกษาชุมชนในพื้นที่ ม.9
1.2 นำข้อมูลที่ได้มารวบรวม ทำการวิเคราะห์ข้อมูลและประมวลผล
1.3 ทำประชาคมเพื่อเสนอปัญหา
1.4 ประชุมคณะดำเนินงานเพื่อวางแผนและกำหนดแนวทางในการดำเนินงาน
1.5 นำเสนอรูปแบบโครงการเพื่อขอความเห็นชอบจากผอ.รพ.สต.บ้านป่าบากและอาจารย์ผู้ดูแลรับผิดชอบ
1.6 จัดทำโครงการและนำเสนอเพื่อขออนุมัติโครงการ
1.7 ประสานงานกับคณะดำเนินงาน เพื่อชี้แจงรายละเอียดโครงการ และขอความร่วมมือในการดำเนินงาน
1.8 ประชาสัมพันธ์โครงการ โดยใช้หอกระจายข่าวและป้ายประชาสัมพันธ์ เพื่อแจ้งรายละเอียดโครงการแก่ประชาชน
1.9 จัดเตรียมป้ายโครงการ เอกสาร บอร์ดให้ความรุ้เรื่องพฤติกรรมการบริโภคอาหารตามโซนสี 3 สี
2 ขั้นดำเนินการ
2.1 ประชุม ชี้แจง โครงการ
2.2 ให้ความรู้พฤติกรรมการบริโภค ลดหวาน มัน เค็ม
2.3 การออกกำลังกาย โดยการนำของนักศึกษา สัปดาห์ละ 3 ครั้ง วันละ 30 นาที
2.4 ตรวจสุขภาพของกลุ่มเป้าหมายก่อนและหลังจัดโครงการ
ผลลัพท์: 1.ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการออกกำลังกาย การบริโภคอาหาร ร้อยละ 80 สามารถนำไปปฎิบัติในชีวิตประจำวันได้และสามารถถ่ายทอดความรู้ให้ผู้อื่นได้
2.ประชาชนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค ลดหวาน มัน เค็ม ได้ร้อยละ 60
รพ.สต.บ้านป่าบาก เมื่อ 21 ก.ค. 2568
1.ตรวจคัดกรองเบาหวาน
2.ตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูง
ผลลัพท์: 1.ร้อยละของประชากร 35 ปีถึง 74 ปี ได้รับการคัดกรองเบาหวานโดยการตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือดเป้าหมาย 1,535 คน.และตรวจคัดกรอง 1,321 คิดเป็นร้อยละ 86.05
2.ร้อยละของประชากร 35 ปีถึง 74 ปี ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูงเป้าหมาย 1,535 คน และตรวจคัดกรอง 1,321 คิดเป็นร้อยละ 86.05
รพ.สต.บ้านป่าบาก เมื่อ 21 ก.ค. 2568
การสำรวจค่า HI ,CI .บริเวณบ้านและในบ้านผู้เข้าร่วมโครงการ
ผลลัพท์: จากการสำรวจ มีค่าHI = ร้อยละ 5 และไม่มีการแพร่กระจายของโรคไข้เลือดออก
รพ.สต.บ้านป่าบาก เมื่อ 21 ก.ค. 2568
กิจกรรมการทำความสะอาดภายในบ้านและบริเวณบ้าน โดยการมอบอุปกรณ์ทำความสะอาดบ้าน
ผลลัพท์: ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 115 หลังคาเรือน มีการจัดบ้านและทำความสะอาด 115 หลังคาเรือน และไม่มีการเกิดโรคไข้เลือดออก
รพ.สต.บ้านป่าบาก เมื่อ 21 ก.ค. 2568
ให้ความรู้เกี่ยวโรคไข้เลือดออก และการกำจัดลูกน้ำยุงลาย
ผลลัพท์: กิจกรรมให้ความรู้ มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 115 คนคิดเป็น ร้อยละ 100 และมีระดับความรู้ ร้อยละ 89.50
รพ.สต.บ้านป่าบาก เมื่อ 21 ก.ค. 2568
เตรียมพื้นที่และดำเนินการปลูกสมุนไพรในสวนป่าชุมชน
ผลลัพท์: มีสวนสมุนไพรในชุมชน และชาวบ้านในชุมชนสามารถใช้สมุนไพรในการรักษาโรคได้
รพ.สต.บ้านป่าบาก เมื่อ 21 ก.ค. 2568
อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรไทย แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ทั้งหมด 60 คน จำนวน 1 วัน
ผลลัพท์: ผู้เข้าอบรมมีความรู้ในการใช้สมุนไพรอย่างถูกต้อง ร้อยละ 80
รพ.สต.บ้านป่าบาก เมื่อ 21 ก.ค. 2568
จัดซื้อจัดจ้าง วัสดุอุปกรณ์ ตามโครงการ
-กระถาง 50 กระถาง
-ดินหมักอินทรีย์ 50 ถุง
-กรรไกรตัดกิ่ง 1 ด้าม
-บัวรดน้ำสังกะสี 1 ถัง
-ถังน้ำพลาสติก 1 ขวด
-ส้อมพรวนดิน 2 ด้าม
-ต้นสมุนไพร 100 ต้น
-จอบขุดแบบเหล็ก 2 ด้าม
-ปุ๋ยคอก 50 กระสอบ
-ถุงดำเพาะต้นไม้ 2 กิโลกรัม
-กระถางปูน 20 กระถาง
ผลลัพท์: จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ทำสวนสมุนไพรครบตามจำนวน ตามรายการในโครงการ
รพ.สต.บ้านป่าบาก เมื่อ 21 ก.ค. 2568
1.สำรวจ จัดทำฐานข้อมูลประชากร อายุ 35 ปี ขึ้นไป
2.ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรอง
3.กลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยง ร้อยละ 80ได้รับคำแนะนำในการดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง
4.กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 100 ที่ตรวจพบความผิดปกติและสงสัยเป็นโรคได้การส่งต่อและรับการรักษาที่ถูกต้อง
ผลลัพท์: ผลผลิด
1.คัดกรองความดันโลหิตสูง เป้าหมาย 1,378 คน คัดกรอง 1,331 คน ร้อยละ 96.73 ปกติ 701 คน เสี่ยง 573 คน สงสัยป่วย 51 คน
2.คัดกรองโรคเบาหวาน เป้าหมาย 1,191 คน คัดกรอง 1,152 คน ร้อยละ 96.59 ปกติ 473 คน เสี่ยง 455 คน สงสัยป่าย 222 คน
ผลลัพธ์
1.กลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงได้รับคำแนะนำในการดูแลสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง
2..กลุ่มเป้าหมายที่มีความสงสัยว่าเป็นโรคได้รับการรักษาที่ถูกต้อง
รพ.สต.บ้านป่าบาก เมื่อ 21 ก.ค. 2568
1.รณรงค์คัดกรองกลุ่มเสี่ยงกลุ่มเสสี่ยงที่มีระดับสารเคมีในเลือด ณ.ศาลาประจำหมู่บ้าน ม.ที่ 6 ต.ทุ่งนารี อ.ป่าบอน จ.พัทลุง
2.รณรงค์คัดกรองกลุ่มเสี่ยงกลุ่มเสสี่ยงที่มีระดับสารเคมีในเลือด ณ.ศาลาประจำหมู่บ้าน ม.ที่ 2 ต.ทุ่งนารี อ.ป่าบอน จ.พัทลุง
3.รณรงค์คัดกรองกลุ่มเสี่ยงกลุ่มเสสี่ยงที่มีระดับสารเคมีในเลือด ณ.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าบาก ม.ที่ 9 ต.ทุ่งนารี อ.ป่าบอน จ.พัทลุง
ผลลัพท์: 1.ผลผลิต กลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงกลุ่มเสสี่ยงที่มีระดับสารเคมีในเลือด 200 คน
2.ผลลัพธ์ กลุ่มไม่ปลอดภัย และกลุ่มเสี่ยงได้รับการรักษา