กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการมัสยิดส่งเสริมสุขภาพ ห่างไกลโรค ประจำปีงบประมาณ 2564

อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลความสะอาดและการดูแลสุขภาพให้ห่างไกลโรค โดยเฉพาะโรคที่เกิดขึ้นในปัจจุบันคือ โรคโควิค 19 และท าความสะอาดผ้าละหมาด สถานที่ละหมาด บริเวณโดยรอบมัสยิด บริเวณ สถานที่สาธารณะ5 มีนาคม 2565
5
มีนาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนสุขภาพตำบลอบต.ยะหา
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. เชิญผู้น าชุมชน กรรมการมัสยิด, ครูตาดีกา มาประชุมเพื่อเตรียมพร้อมการจัด อบรมมัสยิดส่งเสริม สุขภาพเพื่อเป็นมัสยิดที่ได้มาตรฐานในชุมชน
  2. ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง
  3. กิจกรรม

- ช่วงเช้าอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลความสะอาดและการดูแลสุขภาพให้ห่างไกลโรคโดยเฉพาะ โรคที่เกิดขึ้นในปัจจุบันคือ โรคโควิค 19 - ช่วงบ่ายท าความสะอาดผ้าละหมาด สถานที่ละหมาด และบริเวณโดยรอบมัสยิด และจัดท าตาราง เวรการท าความสะอาดภายในมัสยิดแต่ละสัปดาห์ 6. รายงานผลการด าเนินการต่อผู้ที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียดงบประมาณ 1. ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จ านวน 120 คนๆละ 2 มื้อๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท 2. ค่าอาหารกลางวัน จ านวน 120 คนๆละ 1 มื้อๆละ 50 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท 3. ค่าตอบแทนวิทยากรจำนวน 3 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท 4. ค่าจัดทำป้ายโครงการ 1.2 เมตร x 2.4 เมตร เป็นเงิน 800 บาท
5. ค่าวัสดุในการจัดอบรม เป็นเงิน 5,670 บาท วัสดุในการจัดอบรม - แฟ้มใส่เอกสารจำนวน 120 แฟ้มๆละ 10 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท - สมุดจำนวน 120 เล่มๆละ 5 บาท เป็นเงิน 600 บาท - ปากกาจำนวน 120 ด้ามๆละ 5 บาท เป็นเงิน 600 บาท วัสดุในการจัดกิจกรรมทำความสะอาด - ไม้กวาดจำนวน 20 ด้ามๆละ40 บาท เป็นเงิน 800 บาท - ไม้กวาดก้านมะพร้าวจำนวน 5 ด้ามๆละ30 บาท เป็นเงิน 150 บาท - ไม้ถูพื้นจำนวน 5 ด้ามๆละ 200 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท - แปรงขัดพื้นจำนวน 5 ด้ามๆละ 60 บาท เป็นเงิน 300 บาท - ถุงดำจำนวน 10 แพ็คๆละ 50 บาท เป็นเงิน 500 บาท - น้ ายาถูพื้นจำนวน 2 ขวดๆละ 195 บาท เป็นเงิน 390 บาท - น้ ายาขัดห้องนำ้จำนวน 2 ขวดๆละ 65 บาท เป็นเงิน 130 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 20,270 บาท (จำนวนเงิน สองหมื่นสองร้อยเจ็ดสิบบาทถ้วน)

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. สามารถควบคุมป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพในกรณีเกิดจากการรักษาความสะอาดของ มัสยิด และพื้นที่สาธารณะ
  2. สามารถสร้างความตระหนักของการรักษาความสะอาดเป็นสิ่งส าคัญของการด ารงชีวิต ท าให้ ปราศจากโรค
  3. ผู้น าชุมชน กรรมการมัสยิด, ครูตาดีกา และประชาชนมีความรู้มีความตระหนักและร่วมมือกัน รักษาความสะอาดในมัสยิด/ สถานที่สาธารณะของตนเองและร่วมกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูก สุขลักษณะอยู่เสมอ