กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการตรวจคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวานความ ดันโลหิตสูง (โรงพยาบาลส่งเสริมสุภาพตำบลศรีประชาเขต)

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองเบาหวานความดัน
ตัวชี้วัด : 1.กลุ่มเป้าหมายเข้ารับการตรวจคัดกรอง ร้อยละ 90 ได้รับแจ้งผลการตรวจ คำแนะนำ และส่งต่อผู้ป่วยกรณีพบความผิดปกติ
1.00 60.00

กลุ่มเป้าหมายเข้ารับการตรวจคัดกรอง ร้อยละ 90 ได้รับแจ้งผลการตรวจ คำแนะนำ และส่งต่อผู้ป่วยกรณีพบความผิดปกติ

2 2.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการเข้าร่วมคลินิกปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (DPAC)และมีความรู้ความเข้าใจ เรื่อง ๓ อ. ( อาหาร/ออกกำลังกาย/อารมณ์ ) ๒ ส.(สุรา/สารเสพติด )
ตัวชี้วัด : 1.กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 90 ของประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและเข้าร่วมคลินิก DPAC
1.00 100.00

กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 90 ของประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและเข้าร่วมคลินิก DPAC

3 3.เพื่อส่งเสริมบทบาทของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ให้ปฏิบัติงานในเชิงรุกในการส่งเสริมสุขภาพของประชาชนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
ตัวชี้วัด : 1.อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและแกนนำ ร่วมดำเนินกิจกรรมร้อยละ 90
1.00 100.00

อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและแกนนำ ร่วมดำเนินกิจกรรมร้อยละ 90

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 3689 697
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 3,689 697
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองเบาหวานความดัน (2) 2.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการเข้าร่วมคลินิกปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (DPAC)และมีความรู้ความเข้าใจ เรื่อง ๓ อ. ( อาหาร/ออกกำลังกาย/อารมณ์ ) ๒ ส.(สุรา/สารเสพติด ) (3) 3.เพื่อส่งเสริมบทบาทของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ให้ปฏิบัติงานในเชิงรุกในการส่งเสริมสุขภาพของประชาชนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. จัดประชุมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และแกนนำ เพื่อวางแผนการตรวจคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย (2) 2.สำรวจข้อมูลประชากรกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่รับผิดชอบ โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลศรีประชาเขต ร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่ (3) 3.จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ และขออุดหนุนงบประมาณ (4) 4.จัดซื้อเครื่องมือแพทย์ เพื่อใช้ในการดำเนินงานตรวจคัดกรองภาวะความดันโลหิตสูง  และตรวจเบาหวานโดยการเจาะเลือดปลายนิ้ว กลุ่มประชากร ๓๕ ปีขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบหมู่1,2,5,6,7 โดยต่อหมู่จะมีเครื่องเจาะ DTX และเครื่องวัดความดัน จำนวนอย่างละ 2 เครื่อง (5) 5.ประชาสัมพันธ์โครงการผ่านทางที่ประชุมในหมู่บ้าน และอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่ (6) 6.จัดทำแผนการออกปฏิบัติงานเชิงรุกในการดำเนินงานคัดกรองภาวะความดันโลหิตสูง  ตรวจเบาหวานโดยการเจาะเลือดปลายนิ้ว กลุ่มประชากร ๓๕ ปีขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบ (7) 7.กิจกรรมตรวจคัดกรองกรองภาวะความดันโลหิตสูง  ตรวจเบาหวานโดยการเจาะเลือดปลายนิ้ว กลุ่มประชากร ๓๕ ปีขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบโดยสถานที่คัดกรองดังนี้ หมู่ 1 บริเวณศาลาอเนกประสงค์หมู่ 1 เวลา 07.00-09.00 น. หมู่ 2 วัดศรีวิเทศสังฆราม/มัสยิดหมู่2ซอยผู้ใหญ่ เวลา 07.0 (8) 8.ดำเนินการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสำหรับผู้มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง จำนวนกลุ่มเป้าหมายประมาณ  5๐ คนโดยมีนักโภชนาการโรงพยาบาลสะเดาให้ความรู้เกี่ยวกับอาหารที่เหมาะสมสำหรับการปรับเปลี่ยนระดับน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิตสูงและนักกายภาพบำบัดโรงพย (9) 9.กิจกรรมเก็บรวบรวมข้อมูลและติดตามเพื่อสรุปและประเมินผลโครงการ (10) 7.1 ดำเนินการแยกกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย คัดแยกเข้าร่วมโครงการ DPAC และทำแบบประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพตาม 3อ2ส ก่อน-หลั

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh