กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการวิเคราะห์และการสังเคราะห์ปัจจัยกำหนดความสำเร็จของโครงการ

การเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับคน กลุ่มคน เครือข่าย (เช่น มีความรู้ มีทักษะ มีความชำนาญ มีศักยภาพและขีดความสามารถเพิ่มขึ้น)

การเปลี่ยนแปลงทั้งที่คาดการณ์ไว้และไม่ได้คาดการณ์ไว้ล่วงหน้ารายละเอียดหลักฐานแนวทางการพัฒนาต่อ
  1. เครือข่าย RDU ในชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับ RDU ในการเฝ้าระวังยาอันตรายและผลิตภัณฑ์สุขภาพไม่ปลอดภัยในตำบลตาแกะ
  2. เครือข่าย RDU ในโรงเรียนทั้ง 3 แห่ง มีความรู้เกี่ยวกับ RDU ในการเฝ้าระวังยาอันตรายและผลิตภัณฑ์สุขภาพไม่ปลอดภัยในตำบลตาแกะ
  3. ร้านชำในตำบลตาแกะ ผ่านเกณฑ์ร้านชำคุณภาพ “ร้านชำ RDU ปลอดยาอันตราย”
  4. เกิดศูนย์แจ้งข่าวสารเกี่ยวกับRDU ในชุมชน
  5. ชุมชนมีส่วนร่วมในการแจ้งข้อมูลข่าวสารเพื่อป้องกันการแพร่กระจายยาอันตรายและผลิตภัณฑ์สุขภาพไม่ปลอดภัยในตำบลตาแกะ

 

ผลการสำรวจเยี่ยมบ้าน ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง สำรวจพฤติกรรมการใช้ยา ยาเหลือใช้ ค้นหาผลิตภัณฑ์สุขภาพไม่ปลอดภัยในตำบลตาแกะ จำนวน 10 case พบว่าผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ไม่เจอการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพไม่ปลอดภัย

 

 

 

 

 

การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อผลสัมฤทธิ์ของโครงการ (เช่น เกิดนโยบาย เกิดข้อตกลงชุมชน เกิดมาตรการทางสังคม)

การเปลี่ยนแปลงทั้งที่คาดการณ์ไว้และไม่ได้คาดการณ์ไว้ล่วงหน้ารายละเอียดหลักฐานแนวทางการพัฒนาต่อ

การเปลี่ยนกลไก และกระบวนการในชุมชนที่เอื้อต่อผลสัมฤทธิ์ของโครงการ (เช่น เกิดกลุ่ม ชมรม เครือข่าย เกิดกระบวนการเรียนรู้ เกิดกระบวนการมีส่วนร่วม)

การเปลี่ยนแปลงทั้งที่คาดการณ์ไว้และไม่ได้คาดการณ์ไว้ล่วงหน้ารายละเอียดหลักฐานแนวทางการพัฒนาต่อ