กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.องค์กรในชุมชน ได้แก่ ผู้นำชุมชนผู้นำศาสนา มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาความครอบคลุมของวัคซีนเด็ก 0-5 ปี 2.ผู้ปกครองของเด็กอายุ 0-5 ปี มีความรู้ที่ถูกต้องและตระหนักถึงความสำคัญของการรับวัคซีนตามนัด มีการพัฒนาระบบบริการเพื่อตอบสนองกลุ่มเป้าหมายและเพิ่มประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 3.เด็ก 0-5 ปีได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุร้อยละ 95 เด็กที่ไม่ยอมรับวัคซีนได้รับวัคซีนเพิ่มขึ้น

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เครือข่ายสุขภาพสามารถติดตามกลุ่มเด็กที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของเครือข่ายสามารถติดตามกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับวัคซีนไม่ครอบตามเกณฑ์
0.00

 

2 เพื่อไม่ให้เกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
ตัวชี้วัด : ไม่เกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
0.00

 

3 เพื่อให้เด็ก ๐ – ๕ ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุ ร้อยละ ๙๕
ตัวชี้วัด : เด็ก 0 - 5 ปี ได้รับวัคซีนวัคซีนครบตามเกณฑ์ ร้อยละ 95
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 75 75
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 75 75
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เครือข่ายสุขภาพสามารถติดตามกลุ่มเด็กที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ (2) เพื่อไม่ให้เกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน (3) เพื่อให้เด็ก ๐ – ๕ ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุ ร้อยละ ๙๕

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รณรงค์ประชาสัมพันธ์โดยไวนิลเกี่ยวกับโครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน แก่เด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ปีงบประมาณ 2566 ทั้ง 2 หมู่บ้าน (2) ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินโครงการ เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน โดยการประชุมชี้แจง เรื่องอันตรายของโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ให้ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา และอสม.ในการมีส่วนร่วมในการช่วยประชาสัมพันธ์ให้กับผู้ปกครองพาบุตรหลานมารับวัคซีน ตระหนักถึงความ (3) จัดประชุมชี้แจงเชิงปฏิบัติการแก่ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 - 5 ปี แจกคู่มือหรือแผ่นพับ เรื่อง โรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนแก่กลุ่มเป้าหมาย การสร้างแรงจูงใจในการรับวัคซีน (4) อสม.ลงเยี่ยมบ้านและติดตามเด็กที่ไม่มารับวัคซีนตามนัดทุกสัปดาห์ ประสานผู้นำศาสนา/ผู้นำชุมชน กรณีเด็กไม่ยอมรับวัคซีน และจัดกิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ผู้ปกครองพาบุตรหลานมารับวัคซีนผ่านสื่อต่างๆ (5) เจ้าหน้าที่ลงฉีดวัคซีนเชิงรุกในพื้นที่กรณีที่ อสม.ไปตามแล้วแต่ยังไม่สามารถมารับวัคซีนตามนัดได้ เดือนละ 1 ครั้ง (6) จัดเวทีถอดบทเรียนและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้ปกครองที่บุตรฉีดวัคซีนครบและผู้ปกครองเด็กที่ฉีดไม่วัคซีนไม่ครบ (7) สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh