กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 กลุ่มผู้ป่วยได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนและความพิการของโรค
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงมีระดับความดันโลหิต <140/90 มากกว่าร้อยละ 50 (ความดันคุมได้) 2. ผู้ป่วยโรคเบาหวาน สามารถคุมระดับน้ำตาลในเลือด (HbA1C <7) > ร้อยละ 10 (เบาหวานคุมได้) 3. เพื่อลดโอกาสการเกิดภาวะแทรกซ้อนและความพิการ <ร้อยละ 10
5.00 5.00 0.00

 

 

  1. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงมีระดับความดันโลหิต
2 ข้อที่ 2 เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังของประชาชนกลุ่มเสี่ยงในเขตรับผิดชอบ
ตัวชี้วัด : 1. อัตราผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ < ร้อยละ 10 2. อัตราผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ <ร้อยละ 20 3. กลุ่มเสี่ยงเบาหวานได้รับการติดตาม >ร้อยละ 90 4. กลุ่มเสี่ยงความดันได้รับการติดตามและวัดความดันที่บ้าน > ร้อยละ 90
5.00 5.00

 

 

  1. อัตราผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ < ร้อยละ 10 จากการดำเนินงานพบว่า ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ จากกลุ่ม Pre-DM (ภาวะก่อนเบาหวาน) ปีที่ผ่านมา = 2.38% (ผู้ป่วยรายใหม่ 1 ราย/ กลุ่ม Pre-DM (ภาวะก่อนเบาหวาน) ในพื้นที่รับผิดชอบของปีที่ผ่านมาได้รับการตรวจน้ำตาลซ้ำ 42 ราย)
  2. อัตราผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ ร้อยละ 90 จากการดำเนินงานพบว่า ร้อยละของประชากรกลุ่มPre-DM (ภาวะก่อนเบาหวาน) ในพื้นที่รับผิดชอบของปีที่ผ่านมาได้รับการติดตามตรวจน้ำตาลซ้ำ=90.48%
  3. กลุ่มเสี่ยงความดันได้รับการติดตามและวัดความดันที่บ้าน > ร้อยละ 90 จากการดำเนินงาน พบว่า กลุ่มเสี่ยงความดันได้รับการติดตามและวัดความดันที่บ้าน = 95%
3 ข้อที่ 3 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีการบริโภคอาหารที่ถูกต้อง เหมาะสม ลดหวาน มัน เค็ม ลดการเกิดโรคจากการบริโภคอาหาร
ตัวชี้วัด : - ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการเลือกบริโภคอาหารดีขึ้น >ร้อยละ 80
50.00 80.00 80.00

 

 

ประชาชนมีความรุ้เพิ่มขึ้น ถาม-ตอบได้ถูกต้อง