กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 กลุ่มผู้ป่วยได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนและความพิการของโรค
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงมีระดับความดันโลหิต <140/90 มากกว่าร้อยละ 50 (ความดันคุมได้) 2. ผู้ป่วยโรคเบาหวาน สามารถคุมระดับน้ำตาลในเลือด (HbA1C <7) > ร้อยละ 10 (เบาหวานคุมได้) 3. เพื่อลดโอกาสการเกิดภาวะแทรกซ้อนและความพิการ <ร้อยละ 10
5.00 5.00 0.00
  1. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงมีระดับความดันโลหิต
2 ข้อที่ 2 เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังของประชาชนกลุ่มเสี่ยงในเขตรับผิดชอบ
ตัวชี้วัด : 1. อัตราผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ < ร้อยละ 10 2. อัตราผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ <ร้อยละ 20 3. กลุ่มเสี่ยงเบาหวานได้รับการติดตาม >ร้อยละ 90 4. กลุ่มเสี่ยงความดันได้รับการติดตามและวัดความดันที่บ้าน > ร้อยละ 90
5.00 5.00
  1. อัตราผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ < ร้อยละ 10 จากการดำเนินงานพบว่า ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ จากกลุ่ม Pre-DM (ภาวะก่อนเบาหวาน) ปีที่ผ่านมา = 2.38% (ผู้ป่วยรายใหม่ 1 ราย/ กลุ่ม Pre-DM (ภาวะก่อนเบาหวาน) ในพื้นที่รับผิดชอบของปีที่ผ่านมาได้รับการตรวจน้ำตาลซ้ำ 42 ราย)
  2. อัตราผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ ร้อยละ 90 จากการดำเนินงานพบว่า ร้อยละของประชากรกลุ่มPre-DM (ภาวะก่อนเบาหวาน) ในพื้นที่รับผิดชอบของปีที่ผ่านมาได้รับการติดตามตรวจน้ำตาลซ้ำ=90.48%
  3. กลุ่มเสี่ยงความดันได้รับการติดตามและวัดความดันที่บ้าน > ร้อยละ 90 จากการดำเนินงาน พบว่า กลุ่มเสี่ยงความดันได้รับการติดตามและวัดความดันที่บ้าน = 95%
3 ข้อที่ 3 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีการบริโภคอาหารที่ถูกต้อง เหมาะสม ลดหวาน มัน เค็ม ลดการเกิดโรคจากการบริโภคอาหาร
ตัวชี้วัด : - ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการเลือกบริโภคอาหารดีขึ้น >ร้อยละ 80
50.00 80.00 80.00

ประชาชนมีความรุ้เพิ่มขึ้น ถาม-ตอบได้ถูกต้อง

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 40 40
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 40 40
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40 45
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) กลุ่มผู้ป่วยได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนและความพิการของโรค (2) ข้อที่ 2 เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังของประชาชนกลุ่มเสี่ยงในเขตรับผิดชอบ (3) ข้อที่ 3 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีการบริโภคอาหารที่ถูกต้อง เหมาะสม ลดหวาน มัน เค็ม ลดการเกิดโรคจากการบริโภคอาหาร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรม “การปรับตัวกับเพื่อนใหม่” (โรคเบาหวาน ความดัน และผองเพื่อน) ในกลุ่มป่วยทั้งรายใหม่และรายเก่า (2) 2. กิจกรรมเรียนรู้ร่วมกันด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ “ปรับวิถี ชีวีเปลี่ยน”ในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง (3) 3. กิจกรรมเรียนรู้ “แม่บ้านยุคใหม่ใส่ใจคนรอบข้าง” (4) กิจกรรมที่ 1. กิจกรรมประชุมชี้แจงคณะทำงานและอาสาสมัครสาธารณสุข เกี่ยวกับกิจกรรมที่ดำเนินขึ้นในโครงการ “ปรับเปลี่ยนสุขภาพ ปี 2566” และฟื้นฟูความรู้การคัดกรองโรคเรื้อรัง (ปฏิบัติการ)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh