กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
ประชุมเชิงปฏิบัติการและให้ควาามรู้ 17 ก.ค. 2566

 

 

 

 

 

เยี่ยมบ้าน 1 ส.ค. 2566

 

 

 

 

 

ติดตามและประเมินผล 1 ก.ย. 2566

 

 

 

 

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 24 ก.ค. 2566 24 ก.ค. 2566

 

ให้ความรู้ดังนี้ 1. ความรู้โภชนศาสตร์ในเด็กเล็กแก่ผู้ปกครองเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ 2. การสาธิตการจัดเมนูอาหารเพื่อพัฒนาโภชนาการ
3. การใช้หลักการพฤติกรรมบำบัด สำหรับแก้ไขปัญหาเด็กที่มีภาวะรับประทานอาหารยาก
4. การสนับสนุนอาหารเสริมที่อุดมด้วยโปรตีนและคาร์โบไฮเดรตคุณภาพสูงแก่ เด็กที่มีภาวะ ทุพโภชนาการได้แก่ไข่ 2 ฟอง และนมกล่องวันละ 2 กล่อง/เด็ก 1 คน/ วัน จำนวน 100 วันติดต่อกัน และการจ่ายยารับประทานรักษาภาวะซีดจากการขาดธาตุเหล็ก (Hct

 

กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ ความเข้าใจมากขึ้น และปฏิบัติได้

 

ติดตามเยี่ยมบ้าน 1 ส.ค. 2566 1 ส.ค. 2566

 

1.ติดตามเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการในละแวกรับผิดชอบโดย อสม. ทุก 2 สัปดาห์ในช่วง 1 เดือนแรก
2.ติดตามเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ในช่วง 2 เดือนหลัง
3. รวบรวมข้อมูลเพื่อทำการจัดทำรายงานประกอบด้วย ผลการเปลี่ยนแปลงด้านความรู้ ด้านทัศนคติและด้านการปฏิบัติ ของงานโภชนาการในผู้ปกครอง และติดตาม การเปลี่ยนแปลง ทางกายภาพของเด็ก โดยการรวบรวมข้อมูลพื้นฐานด้านบุคคล ด้านสภาพแวดล้อม ในครอบครัว และใน ชุมชนของเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการที่เข้าร่วมโครงการ

 

นมให้เด็กได้รับประทานประเภท UHT
ไข่ให้เด็กได้รับประทานฟอง

 

ติดตามและประเมินผล 1 ก.ย. 2566 1 ก.ย. 2566

 

สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการส่งประธานกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาล
ตำบลบ่อทอง หน่วยงานส่วนราชการ องค์กรที่เกี่ยวข้อง ในรูปแบบร้อยละ ตาราง ปัญหา อุปสรรค แนวทางพัฒนา

 

1 เด็กในพื้นที่ทุกคนได้รับการตรวจประเมินภาวะโภชนาการโดยแยกเป็นภาวะตามปกติเกณฑ์
  และทราบเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาซึ่งจะต้องได้รับการแก้ไขให้เข้าสู่ภาวะปกติ ทุกคน
2 ทุกหน่วยงานสามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการแก้ไขปัญหาร่วมกันได้ 3 ผู้ปกครองที่ผ่านการอบรมแล้ว สามารถประยุกต์การจัดเมนูอาหารในครัวเรือน แก่เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ
  ได้อย่างเหมาะสม