กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการลดขยะลดโรคติดต่อในชุมชนบ้านทุ่งวัวแดง

ระยะเวลาโครงการ 15 มีนาคม 2566 - 30 มิถุนายน 2566

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

ความรู้เรื่อง การบริหารจัดการขยะโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน

  1. โครงสร้างคณะทำงานบริหารจัดการการขยะ
  2. บันทึกความร่วมมือการจัดการขยะของชุมชนร่วมกับเครือข่ายต่างๆ

ขยายองค์ความรู้สู่ชุมชนใกล้เคียงและพัฒนาให้มีความต่อเนื่องและยั่งยืน เช่น การจัดทำฐานการเรีรยนรู้ขยะแต่ละประเภทในชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

เกิดกระบวนการ/กลไกใหม่ โดยใช้ ปราญช์ชาวบ้านที่ใช้ในการบริหารจัดการขยะของชุมชน คือการมีส่วนร่วมของชุมชน

ปราชญ์ชาวบ้าน ข้าราชการบำนาญ ที่สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการลด คัดแยกขยะในชุมชนบ้านทุ่งวัวแดง

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

1.การสร้างความเป็นเจ้าของปัญหาขยะ
2.ใช้ข้อมูลปริมาณขยะครัวเรือนที่เกิดขึ้น(จากการสำรวจ)เป็นตัวเคลื่อนโครงการ การคืนข้อมูลให้ชุมชนได้ทราบ การพัฒนาความรู้กลุ่มเป้าหมาย การลงมือฝึกปฏิบัติจริง

ฐานการเรียนรู้การบริหารจัดการขยะในชุมชน จำนวนคณะศึกษาดูงานที่มาเรียนรู้ในพื้นที่บ้านทุ่งวัวแดง

พัฒนาวิทยากรฐานเรียนรู้ด้านความสามารถในการถ่ายทอดกระบวนการ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

เกิดการใช้ปราญช์ชาวบ้าน/ข้าราชการเกษียนมาร่วมทำงาน
ใช้ข้อมูลปริมาณขยะมาทำงาน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

1.กลุ่มธนาคารขยะรีไซเคิล
2.กลุ่มปุ๋ยหมัก
3.กลุ่มเลี้ยงไส้เดือน
4.กลุ่มทำน้ำยาเอนกประสงค์
5.กลุ่มสตรี
6.กลุ่มแปรรูปน้้ำพริก

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการลด คัดแยกขยะที่ต้นทาง ของจังหวัด

ชุมชนปลอดขยะระดับจังหวัด และระดับเขต

คงระดับให้เป็นพื้นที่ต้นแบบอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

การจัดการขยะของชุมชนส่งผลให้อนามัยสิ่งแวดล้อมของชุมชนดี

โรคติดต่อที่นำโดยสัตว์และแมลงนำโรคลดลง เช่น สถานการณ์ไข้เลือดออกไม่ปรากฎในชุมชนบ้านทุ่งวัวแดงหลังจากมีโครงการนี้

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

ประชาชนในชุมชนมีการบริโภคผักปลอดภัย เนื่องจากผลจากการรณรงค์ให้ประชาชนนำขยะอินทรีย์ทำปุ๋ยและหมุนเวียนมาใช้ประโยชน์

การเยี่ยมบ้าน ร้อยละ 90ของครัวเรือนมีการปลูกผักและบริโภคผัก

ขยายผลโครงการส่งเสริมการบริโภคผัก ผลไม้ ปลอดภัยไม่ต่ำกว่าวันละ 400 กรัม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

ชุมชนเกิดการจัดการขยะโดยตนเอง

1.แผนชุมชน /โครงการ
2.แผนพัฒนาท้องถิ่น

ขยายไปประเด็นอื่นที่เป็นปัญหาในชุมชน ได้แก่ การจัดการน้ำเสียครัวเรือน การลดการใช้สารเคมีในการเกษตร

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

1.มีการสร้างมาตรการและนำใช้มาตรการการจัดการขยะในชุมชนร่วมกัน

2.การใช้หลักการ "บวร" บ้าน วัด โรงเรียน ราชการ เป็นแนวทางในการดำเนินงาน ทำให้คนในชุมชนเกิดความเข้มแข็งและร่วมกันรักษาสิ่งแวดล้อม มีความสะอาด ความเป็นระเบียบเรียบร้อย ชุมชนน่าอยู่

3.การนำขยะประเภทกล่องนม พลาสติกสะอาด นำมาบริจาคแทนการเผา ช่วยรักษาสุขภาพของคนและสิ่งแวดล้อมในชุมชน

1.มาตรการและร่องรอยการนำใช้มาตรการ

2.กิจกรรมขยะบุญ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

ชุมชนมีมาตรการด้านการจัดการและการนำใช้มาตรการ ได้แก่

1.คนในครัวเรือนต้องมีการลด การคัดแยกขยะตามประเภทตามหลักการ 3Rs

2.ห้ามเผาขยะในช่วงเวลาที่กำหนด

3.ห้ามทิ้งขยะในทีสาธารณะ

4.ส่งเสริมให้มีการนำขยะแปรรูปใช้ประโยชน์ต่อไป

5.หากฝ่าฝืนตามข้อ2,3 ปรับ 500 บาท

1.ภาพป้ายมาตรการชุมชน

2.บันทึกรายงานการประชุมประชาคม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

คนบ้านทุ่งวัวแดงมีความภาคภูมิใจที่มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาขยะในชุมชนของตนเองได้ชัดเจนเป็นรูปธรรม สามารถนำใช้กับตนเองครอบครัว และนำไปถ่ายทอดให้บุคคลภายนอกเข้ามาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้

การได้รับเชิญไปเล่าประสบการณ์/บทเรียนการทำงานในชุมชนอื่น หรือหน่วยงานอื่นทราบ

พัฒนาสื่อ เช่น จัดทำคลิป สื่อวิดิโอการถอดประสบการณ์ เรื่องเล่าด้านการจัดการขยะที่ประสบผลสำเร็จหรือเป็นที่ยอมรับของบุคคล ครัวเรือนต้นแบบในชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

การบริหารจัดการขยะโดยการมีส่วนร่วม ทำให้บุคคล ครอบครัว ชุมชนได้เรียนรู้สาเหตุของปัญหาที่แท้จริง การลด คัดแยกขยะที่ต้นทางที่ระดับครัวเรือน ชุมชน ช่วยลดปริมาณขยะตกค้างในชุมชน ลดภาระค่าใช้จ่ายของหน่วยงานที่รับผิดชอบที่ปลายทาง ทำให้ประชาชนได้เห็นคุณค่าของการจัดการขยะและมีความรับผิดชอบต่อตนเอง ชุมชน สังคมมากขึ้น

1.ข้อมูลปริมาณขยะเปรียบเทียบก่อนและหลังการดำเนินโครงการ 2.ข้อมูลรายได้ที่เกิดจากการขายขยะรีไซเคิล รายจ่ายที่ลดลงจากการซื่้อปุ๋ยเคมี โดยมีการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ที่ได้จากการจัดการขยะอินทรีย์ทดแทน

การเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติ และผลกระทบเชิงบวก และเชิงลบของการบริหารจัดการขยะในชุมชนอย่างเป็นระบบ เพื่อเป็นข้อมูลย้อนกลับให้คนในชุมชนได้ทราบอย่างต่อเนื่องและเห็นเป็นรูปธรรมชัดเจน วัดออกมาเป็นเชิงปริมาณได้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

ข้อมูลที่ได้จากผู้เข้าร่วมโครงการนี้
: โครงการนี้ เน้นการลด คัดแยกขยะ มีการดำเนินโครงการภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การมีส่วนร่วม มีเหตุผลและมีภูมิคุ้มกัน ได้ฝึกฝนวินัยในตนเอง เห็นคุณค่าของขยะแม้ขายได้เพียงเล็กน้อยแต่เมื่อนำมารวมกันเป็นภาพรวมของชุมชนก็สามารถรวบรวมเป็นเงินก้อนใหญ่ ทำประโยชน์ให้ชุมชน เช่น นำไปสมทบซื้อที่ดินปลูกสร้างอาคารศูนย์เรียนรู้ในชุมชน ทุนการศึกษา การช่วยเหลือผู้ยากไร้ ผู้ด้อยโอกาสในชุมชน ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ลดการเห็นแก่ตัว

ข้อมูลจากผู้นำชุมชนและแกนนำที่ขับเคลื่อนโครงการ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

มีการนำรายได้ที่เกิดจากการบริหารจัดการขยะ ไปช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางในพื้นที่ เช่น จัดซื้อของเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส การมอบทุนการศึกษาเด็กมีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์

ข้อมูลจำนวนกลุ่มเปราะบางที่ได้รับการสนับสนุนช่วยเหลือจากโครงการ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

โครงการนี้มีการนำเสนอข้อมูลซึ่งเป็นข้อเท็จจริง ปัญหาจากขยะ สาเหตุหรือรากของปัญหาที่แท้จริง สถานการณ์ปัญหาและผลกระทบ หากดำเนินแก้ไขจะลดสิ่งที่ไม่พึงประสงค์อย่างไร และหากไม่แก้ไขจะเกิดผลกระทบอะไรตามมา มีการเสนอแนวทางแก้ไขโดยให้คนในชุมชนมีส่วนร่วมวิเคราะห์และออกแบบพิมพ์เขียวชุมชนในอุดมคติของตนเอง แล้วให้ชุมชนเป็นผู้ตัดสินใจที่จะทำหรือจะไม่ทำ ในที่สุดคนในชุมชนเลือกที่จะทำ จึงได้ร่วมกันกำหนดกิจกรรมของโครงการตามมา

เวทีประชุมประชาคมในกลุ่มต่างๆเพื่อตัดสินใจดำเนินโครงการ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ