กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
การประชุมคณะกรรมการบริหารจัดการขยะมูลฝอยตำบลเพื่อพิจารณาแนวทางการดำเนินการจัดการขยะมูลฝอยและขับเคลื่อนกิจกรรมต่างในพื้นที่ สอดคล้องกับแผนงานระดับอำเภอ จังหวัดและกรมส่งเสริมฯ กระทรวงมหาดไทย 1 ต.ค. 2565

 

 

 

 

 

การรณรงค์และประชาสัมพันธ์ แจ้งเตือน สร้างการรับรู้และส่งเสริมการสร้างวินัยในการทิ้งและการจัดการขยะชุมชน 1 พ.ย. 2565

 

 

 

 

 

การปลูกฝัง และสร้างจิตสำนึกแก่เด็ก นักเรียน ชุมชน หมู่บ้าน ในการจัดการขยะมูลฝอย 1 ม.ค. 2566

 

 

 

 

 

การจัดทำถังขยะเปียกหรือถังขยะเปียกครัวเรือน ตามนโยบายรัฐบาล ภายใต้โครงการ "ถังขยะเปียก ลดโลกร้อนของ อปท. ประเทศไทย" ตามโครงการลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจตามมาตรฐาน ของประเทศไทย (T-VER) ของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น 1 ม.ค. 2566

 

 

 

 

 

การตั้งกลุ่มกิจกรรม เพื่อดำเนินกิจกรรมนำขยะไปใช้ประโยชน์ หรือสร้างรายได้ เช่น กิจกรรม กองทุนขยะตำบล, ตลาดนัดขยะ ฯลฯ 1 ก.พ. 2566

 

 

 

 

 

การจัดกิจกรรมตามโครงการวัดประชา รัฐ สร้างสุข เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 1 ก.พ. 2566

 

 

 

 

 

การจัดกิจกรรม ทำความสะอาดภายในหมู่บ้าน/ชุมชม/ส่วนราชการ (Big Cleaning Day) ตามแผนงานที่อบต.กำหนดไว้ 9 พ.ย. 2566

 

 

 

 

 

การประชุมคณะกรรมการบริหารจัดการขยะมุลฝอยระดับหมู่บ้านและระดับตำบล 24 ต.ค. 2565 24 ต.ค. 2565

 

  1. สรุปสถานการณ์ปัญหาขยะในพื้นที่
  2. สรุปผลการดำเนินงานในปีที่ผ่านมา เพื่อนำไปวางแผนในการจัดการขยะ
  3. วางแผนงาน/กิจกรรม/โครงการ ให้มีความเหมาะสม และสอดคล้องกับปัญหาในพื้นที่
  4. ดำเนินการตามแผนงาน บูรณาการร่วมกันกับภาคีเครือข่าย
  5. ประเมินผล และสรุปผล

 

แผนงาน/กิจกรรม/โครงการ ให้มีความเหมาะสม และสอดคล้องกับปัญหาในพื้นที่ และดำเนินการตามแผนงาน บูรณาการร่วมกันกับภาคีเครือข่าย

 

จัดทำถังขยะเปียกลดโลกร้อนในครัวเรือน 26 ธ.ค. 2565 26 ธ.ค. 2565

 

  1. อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ และการนำขยะที่คัดแยกที่เป็นขยะอินทรีย์ (ขยะเปียก) นำไปใช้ประโยชน์
  2. สาธิตการทำถังขยะเปียกลดโลกร้อน และการนำถังขยะไปดำเนินการในพื้นที่ครัวเรือนที่เป็นจิตอาสานำร่องโครงการ
  3. ดำเนินการตามแผนงาน ให้ครบทั้ง 11 หมู่บ้าน

 

  1. ดำเนินการตามแผนงาน ให้ครบทั้ง 11 หมู่บ้าน และมีถังขยะเปียกลดโลกร้อนในครัวเรือน 100%
  2. ขยะชุมชน ประเภทขยะอินทรีย์นำไปใช้ประโยชน์ได้เหมาะสม
  3. ปริมาณขยะที่เกิดขึ้นลดลง การเผาทำลายขยะลดลง

 

การเก็บขยะ และคัดแยกขยะ การกำจัดสิ่งปฎิกูลที่อยู่ในพื้นที่สาธารณะของชุมชน/หมู่บ้าน 10 ม.ค. 2566 10 ม.ค. 2566

 

  1. การประชาสัมพันธ์แจ้งข่าวสาร สถาการณ์ปัญหา ขยะและปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมในพื้นที่
  2. เก็ยขยะมูลฝอย และทำการคัดแยกประเภทขยะ ในพื้นที่สาธารณะ ภายในหมู่บ้าน เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ และกำจัดตามประเภทขยะ
  3. ดูแลความเป็นระเบียบ เรียบร้อย อื่นๆ เช่น ตัดกิ่งไม้ไม่ให้ขัดขวางจราจร ความเรียบร้อยป้ายจราจร สายไฟฟ้า เป็นต้น

 

  1. หมู่บ้านสะอาด มีการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบ
  2. ป้องกันโรค และพาหะนำโรค และชุมชนห่างไกลจากโรคไข้เลือดออก

 

การจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ และการออกกิจกรรมรณรงค์การเสริมสร้างรับรู้กรจัดการขยะชุมชน 18 ม.ค. 2566 18 ม.ค. 2566

 

. การเดือนรณงค์  และติดป้ายประชาสัมพันธ์ ในชุมชน
2. การออกประชาสัมพันธ์ รถขยายเสียงเคลื่อนที่ 3. การประชาสัมพันธ์เสียงตามสายเกี่ยวกับข้อระเบียบ กฎหมายท้องถิ่น

 

ประชาชนในชุมชนมีความเข้าใจและสร้างการมีส่วนร่วมเกี่ยวแนวทางและการปฏิบัติที่สอดคล้องกับภารกิจงานการจัดการขยะมุลฝอย และข้อระเบียบ กฎหมายท้องถิ่น

 

อบรม/รณรงค์ให้ความรู้เสริมสร้างวินัยและจิตสำนึกในการรักษาสิ่งแวดล้อม ชุมชนปลอดขยะ ห่างไกลโรค 1 ก.พ. 2566 1 ก.พ. 2566

 

  1. การถอดบทเรียน และสรุปปัญหาการบริหารจัดการขยะในชุมชน
  2. การวางแนวทางการดำเนินงานและการขับเคลื่อนการจัดการขยะในพื้นที่

 

แนวทางการดำเนินงานและการขับเคลื่อนการจัดการขยะในพื้นที่

 

5 ส วัดประรัฐ สรา้งสุข เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 9 พ.ค. 2566 9 พ.ค. 2566

 

  1. กิจกรรม 5 ส. เพื่อให้วัดดูสวยงาม เป็นระเบียบร้อย
  2. กิจกรรมทางศาสนา เพื่อพัฒนาจิตใจ คุณธรรม จริยธรรม

 

  1. วัดดูสวยงาม เป็นระเบียบร้อย เหมาะสำหรับการปฎิบัติศาสนากิจ
  2. เพื่อพัฒนาจิตใจ ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ตลอดจนคนในชุมชน คุณธรรม จริยธรรม เพื่อการพัฒนาคน สังคม ให้ยั่งยืน

 

กลุ่มอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก ระดับหมู่บ้าน 11 พ.ย. 2566 11 พ.ย. 2566

 

  1. ประชุมคณะกรรมการเพื่อคัดเลือกคณะทำงาน
  2. นำผลการประชุมที่ได้ เพื่อประกาศจัดตั้งกลุ่ม กลุ่มอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก ระดับหมู่บ้าน

 

ประกาศจัดตั้งกลุ่ม กลุ่มอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก ระดับหมู่บ้าน