กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มกิจกรรมออกกำลังกายในกลุ่มนักเรียน (2) เพิ่มกิจกรรมทางกายให้นักเรียนในทุกๆสัปดาห์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ฝึกอบรมการออกกำลังกายเพื่อสุภาพ (2) ประชุมคณะทำงาน ชี้แจงรายละเอียดการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ (3) ฝึกอบรมทักษะ แอโรบิกมวยไทย (4) ฝึกทักษะแอโรบิกมวยไทย (5) สรุปและรายงานผลการดำเนินโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

คำสำคัญ

 

บทนำ

สุขภาพที่ดีเป็นสิ่งที่ทุกคนพึงปรารถนา การมีสุขภาพที่ดีมิได้หมายถึงเพียงการมีหลักประกันในการเข้าถึงบริการสุขภาพเท่านั้น ต้องขึ้นอยู่กับการรู้จักการดูแลสุขภาพของตนเอง เพื่อให้มีสุขภาพที่แข็งแรงอยู่เสมอ เพราะโรคบางโรคสามารถป้องกันได้ด้วยการออกกำลังกายดีกว่าการรอให้เกิดการเจ็บป่วยแล้วรักษา จะทำให้สิ้นเปลืองทรัพยากรและงบประมาณในการดูแลรักษาจำนวนมาก การที่คนเรามีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันโรคที่ดี จึงควรมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้ตนเองมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงซึ่งการออกกำลังกาย เป็นปัจจัยสำคัญประการหนึ่งต่อการมีสุขภาพที่สมบูรณ์และแข็งแรงทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ และจิตใจโดยเฉพาะเด็กในวัยเรียนจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้มีพัฒนาการทางด้านร่างกายที่เหมาะสมตามช่วงวัย มีน้ำหนักส่วนสูงเป็นไปตามเกณฑ์ รวมทั้งมีภูมิคุ้มกันต้านทานโรคภัยต่างๆโรงเรียนบ้านป่างามได้เล็งเห็นความสำคัญในการส่งเสริมให้นักเรียนได้การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ เพื่อดูแลสุขภาพของตนเองให้มีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจ จึงได้จัดทำโครงการแอโรบิกมวยไทย เพื่อสุขภาพขึ้นเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนการออกกำลังกายโดยการเต้นแอโรบิก ผสมผสานศิลปะมวยไทย นอกจากจะช่วยส่งเสริมและพัฒนาให้นักเรียนมีร่างกายที่สมบูรญ์แข็งแรงแล้วยังเป็นการส่งเสริมให้นักเรียนมีส่วนร่วมอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมไทยรักความเป็นไทยได้อีกทางหนึ่งรวมทั้งได้ส่งเสริมให้ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านศิลปะมวยไทย ที่มีในชุมชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการส่งเสริมการเรียนรู้ของนักเรียน

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

check_circle

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
check_circle
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
check_circle
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
check_circle
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
check_circle
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
check_circle
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
check_circle
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
check_circle
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
check_circle
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
check_circle
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
check_circle
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)
check_circle

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน
check_circle

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ
check_circle

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
check_circle

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)
check_circle

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)
check_circle

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง
check_circle

 

2. การกำหนดขอบเขต

check_circle

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต
check_circle

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต
check_circle

 

3) เครื่องมือที่ใช้
check_circle

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

check_circle

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)
check_circle

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)
check_circle

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)
check_circle

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
check_circle
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ
check_circle

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

check_circle

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน
check_circle

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน
check_circle

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน
check_circle

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
check_circle
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ
check_circle

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

check_circle

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ
check_circle

 

2) อื่นๆ
check_circle

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

check_circle

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ
check_circle

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ
check_circle

 

3) อื่นๆ
check_circle

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ