กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

มีกิจกรรมอบรมให้ความรู้ผ่านการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ และกำหนดมาตรการทางสังคมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กิจกรรมรณรงค์ออกกำลังกายร่วมกัน มีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการจำนวน ๑๕๐ คน ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจในการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ (ลดหวาน มัน เค็ม) ส่งเสริมการออกกำลังกาย

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้เรื่องการบริโภคอาหาร,2.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้เรื่องการออกกำลังกาย,3.สร้างความตระหนักแก่ชุมชนในการดูแลสุขภาพของประชาชนผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้แล ะมีมาตรการทางสังคมในการดูแลสุขภาพ,4.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงรู้จักเลือกบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ (ลด หวาน มัน เค็ม)
ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนมีความรู้ในการบริโภค 2.ประชาชนมีความรู้ในการออกกำลัง 3.ชุมชนมีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การดูแลสุขภาพ 4.มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
0.00 150.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

ปัจจุบันเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของประชาชน ประชาชนมีการแข่งขันสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัว นิยมวัฒนธรรมตะวันตกมากขึ้น จึงทำให้วิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลง เช่น การเร่งรีบกับการทำงาน บริโภคอาหารโดยไม่คำนึงถึงคุณค่าทางโภชนาการ ีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง ขาดการออกกำลังกาย เครียด ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข เป็นกลุ่มโรคที่มีปัจจัยสาเหตุการนำสู่โรคจากปัจจัยเสี่ยงร่วม และเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ซึ่งโรคนี้สามารถป้องกันได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น การรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการ และมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสม จากผลการการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกยา พบว่า มีกลุ่มเสี่ยงด้วยโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มมากขึ้น และมีผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง ร้อยละ ๑๐ ของประชากร ม.๑๔ บ้านป่ายูง ต.เขาชัยสน เนื่องประชาชนขาดการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ กลุ่ อสม.ม.๑๔ บ้านป่ายูงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว และตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชนในกลุ่มดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมขึ้น เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้ และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดการเกิดโรคเรื้อรังและป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคตได้ โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้เรื่องการบริโภคอาหาร,2.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้เรื่องการออกกำลังกาย,3.สร้างความตระหนักแก่ชุมชนในการดูแลสุขภาพของประชาชนผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้แล ะมีมาตรการทางสังคมในการดูแลสุขภาพ,4.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงรู้จักเลือกบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ (ลด หวาน มัน เค็ม)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) กิจกรรมส่งเสริมการปรับเปลี่ยนสุขภาพ (3) กิจกรรมติดตามประเมินผล มีกิจกรรมอบรมให้ความรู้ผ่านการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ และกำหนดมาตรการทางสังคมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กิจกรรมรณรงค์ออกกำลังกายร่วมกัน มีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการจำนวน ๑๕๐ คน ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจในการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ (ลดหวาน มัน เค็ม) ส่งเสริมการออกกำลังกาย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh