กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการสนับสนุนกองทุนสุขภาพตำบลโดยพี่เลี้ยง จังหวัดปัตตานี ปี 2560

ประชุมทีมพี่เลี้ยงระดับจังหวัดปัตตานี ครั้งที่ 218 พฤษภาคม 2560
18
พฤษภาคม 2560รายงานจากพื้นที่ โดย รอมซี สาและ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เลขาฯได้บรรยายสถานการณ์เงินคงเหลือจังหวัดปัตตานี ปี 60 1.จังหวัดปัตตานี มีกองทุนสุขภาพตำบล จำนวน 113 แห่ง 2.เงินเหลือสะสม53 ล้านบาท(เขต 12 สงขลา 435 ล้านบาท ทั้งประเทศ 4,313 ล้านบาท) 3.ปี 60 ได้รับจัดสรรเพิ่มจากเงินโอนของ สปสช.(45บาท/หัว ปชก.) อีก 31 ล้านบาท ได้รับสมทบจาก อปท. 15 ล้านบาท 4.สุทธิเงินในกองทุนฯประมาณ 99 ล้านบาท (เขต 12 สงขลา ประมาณ 770 ล้านบาท) โจทย์สำคัญ 1. ทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเอง 2. ทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต. กลุ่มและองค์กรชุมชน กลุ่มประชาชน เป้าหมาย: แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% สิ่งที่เปลี่ยนหลักๆจากเดิม เริ่มตั้งแต่ ปีงบ 601. โปรแกรมกองทุนสุขภาพตำบลเดิม http://obt.nhso.go.th ใช้ทั้งประเทศ ปัจจุบัน http://www.localfund.happynetwork.orgเว็บ www.google.co.th พิมพ์คำว่า “กองทุนสุขภาพตำบลภาคใต้” ใช้เฉพาะสปสช.เขต 12 สงขลา 7 จังหวัด(สงขลา,ตรัง,พัทลุง,สตูล,ปัตตานี,ยะลา,นราธิวาส) 2. ใช้กลไกพี่เลี้ยงกองทุน(Coaching)ระดับจังหวัด ปัตตานี 18 คน สปสช.เขต 12 สงขลาแต่งตั้ง (กองทุน 1 แห่ง/พี่เลี้ยง 1 คน)
พี่เลี้ยง 1 คน/รับผิดชอบกองทุน 3-9 แห่ง
บทบาทพี่เลี้ยง
ทำงานร่วมกับกรรมการกองทุนฯ 1.จัดทำแผนงานกองทุน 3-5 ปี
2.พัฒนา ปรับปรุง คุณภาพโครงการกองทุนฯให้การสนับสนุน 3.ติดตาม ประเมินผลโดยใช้โปรแกรมผ่านเว็บไซต์ งบประมาณ คาดจะได้รับจัดสรรงบสำรับทีมพี่เลี้ยงจากสปสช.90,000 บาท 1.ใช้งบบริหารกองทุน ข้อ7(4) ในการทำแผนและพัฒนาโครงการกองทุนฯละ 5,000 บาท (ค่าวิทยากร 600 บาท/ชม.ค่าเดินทางภายในจังหวัด 2.การติดตาม ประเมินผล ใช้งบโครงการแต่ละโครงการ เช่น งบวิทยากร ทักษะของพี่เลี้ยง 1. ความเข้าใจระเบียบบริหารกองทุน ฯ ปี 2557
2. การวินิจฉัยข้อหารือเกี่ยวกับกองทุนฯ 3. แนวคิดด้านสุขภาวะ การสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค 4. การจัดทำแผนงานกองทุน
5. การทำโครงการในประเด็นสำคัญ(ปัจจัยกำหนดสุขภาพ :SDH) 6. การประสานงาน-ให้คำปรึกษาของพี่เลี้ยง เรื่องที่จะพูดคุยกัน ติดตาม แลกเปลี่ยน เติมเต็ม โดยแบ่งหน้าที่ในการบรรยายดังนี้ 1.สถานการณ์กองทุน(รอมซี,วรรณพร) 2.แผนงานของกองทุน ปี 60(ประภัสสร,อาแว,เต็มดวง) 3.ระเบียบการเงิน ปี 2557(อับดุลกอเดร์,รอปีซะ,อาซีซะ) 4.ระเบียบกองทุน ปี 2557(อดุล,ซาลีนา,กัลยา) 5.การบริหารจัดการกองทุน(แวฮาซัน,สราวุฒิ,การียา) 6.ปัญหาอุปสรรค(แวอิยัส,ประสพพร,มะรอกี,อับดึลตอเละ) และมีการจับคู่พี่เลี้ยงกับกองทุนตำบลดังต่อไปนี้
ในเขตอำเภอเมืองปัตตานีกับอำเภอแม่ลาน นายอับดุลกอเดร์การีนา รับผิดชอบ 8 แห่ง คือ (1)อบต.กะมิยอL3009 (2)อบต.คลองมานิงL3010 (3)อบต.ตะลุโบะL3011 (4)อบต.ตันหยงลุโละL3012 (5)อบต.บานาL3013 (6)อบต.บาราโหมL3014 (7)อบต.บาราเฮาะL3015 (8)อบต.ปะกาฮะรังL3016
นางกัลยาเอี่ยวสกุล รับผิดชอบ 6 แห่ง คือ (1)เทศบาลเมืองปัตตานีL7884 (2)อบต.ปูยุดL3017 (3)เทศบาลตำบลรูสะมิแลL3018 (4)อบต.ป่าไร่L3019 (5)อบต.ม่วงเตี้ยL3020 (6)อบต.แม่ลาน L3021
ในเชตอำเภอยะหริ่งนางวรรณพรบัวสุวรรณรับผิดชอบ 9 แห่งคือ (1)อบต.จะรังL3037 (2)เทศบาลตำบลตอหลังL3038 (3)อบต.ตาแกะL3042
(4)อบต.ตาลีอายร์ L3043
(5)เทศบาลตำบลบางปูL7008
(6)อบต.ปิยามุมังL3045
(7)เทศบาลตำบลยะหริ่ง L8284
(8)อบต.ยามูL3047
(9)อบต.ราตาปันยังL3048
นายอาแวลือโมะ รับผิดชอบ 9 แห่งคือ (1)อบต.ตะโละL3039
(2)อบต.ตะโละกาโปร์50110
(3)เทศบาลตำบลตันหยงL8285
(4)อบต.ตันหยงดาลอL3041
(5)อบต.บาโลยL3044
(6)เทศบาลตำบลมะนังยงL3046
(7)อบต.สาบันL3049
(8)อบต.หนองแรตL3050
(9)อบต.แหลมโพธิ์L3051
ในเขตอำเภอปะนาเระ/ทุ่งยางแดง นายรอมซี สาและรับ ผิดชอบ 9 แห่งคือ (1)อบต.ควนL2990
(2)อบต.คอกกระบือL2991
(3)อบต.ดอน50109
(4)อบต.ท่าข้ามL2993
(5)อบต.ท่าน้ำL2994
(6)อบต.ตะโละแมะนาL2986
(7)อบต.น้ำดำL2987
(8)อบต.ปากูL2988
(9)อบต.พิเทนL2989
นางสาวอาซีซะ กาเรง รับผิดชอบ 5 แห่ง คือ (1)อบต.บ้านกลางL2995
(2)อบต.บ้านนอกL2996
(3)อบต.บ้านน้ำบ่อL2997
(4)เทศบาลตำบลปะนาเระL6999
(5)เทศบาลตำบลพ่อมิ่งL2998
ในเขตอำเภอยะรัง/มายอ นายอับดุลตอเละ จะปะกียา รับผิดชอบ 8 แห่ง คือ (1)อบต.กระโดL3025
(2)อบต.กอลำL3026
(3)อบต.เขาตูมL3027
(4)อบต.กระเสาะL2999
(5)อบต.เกาะจันL3001
(6)อบต.ตรังL3002
(7)อบต.ลุโบะยิไรL3006
(8)อบต.ปะโดL3004
นายแวอิลยัสอีบุ๊ รับผิดชอบ 8 แห่ง คือ (1)อบต.คลองใหม่L3028
(2)อบต.ปิตูมุดีL3030
(3)อบต.เมาะมาวีL3031
(4)อบต.วัดL3034
(5)อบต.กระหวะL3000
(6)เทศบาลตำบลมายอL7001
(7)อบต.ลางาL3005
(8)อบต.สะกำL3007
นายการียายือแร รับผิดชอบ 8 แห่ง คือ (1)อบต.ประจันL3029
(2)อบต.ยะรังL3032
(3)เทศบาลตำบลยะรังL8286
(4)อบต.ระแว้งL3033
(5)อบต.สะดาวาL3035
(6)อบต.สะนอL3036
(7)อบต.ถนนL3003
(8)อบต.สาคอบนL3008
ในเขตอำเภอโคกโพธิ์ นายประสพพรสังข์ทอง รับผิดชอบ 6 แห่ง คือ (1)อบต.ควนโนรีL2974
(2)อบต.ทรายขาวL2977
(3)อบต.ทุ่งพลาL2979
(4)เทศบาลตำบลนาประดู่L8015
(5)อบต.นาประดู่L2981
(6)อบต.ปากล่อL2983
นางประภัสสรขวัญกะโผะ รับผิดชอบ 8 แห่ง คือ (1)เทศบาลตำบลโคกโพธิ์L8282
(2)อบต.โคกโพธิ์L2975
(3)อบต.ช้างให้ตกL2976
(4)อบต.ท่าเรือL2978
(5)อบต.นาเกตุ50108 (6)อบต.บางโกระL2982
(7)อบต.ป่าบอนL2984
(8)อบต.มะกรูดL2985
ในเขตอำเภอหนองจิก นายแวฮาซันโตะฮิเล รับผิดชอบ 4 แห่ง คือ (1)อบต.เกาะเปาะL3061
(2)อบต.คอลอตันหยงL3062
(3)อบต.ดอนรักL3063
(4)อบต.ยาบีL3070
นายมะรอกีเวาะเล็ง รับผิดชอบ 9 แห่ง คือ (1)อบต.ดาโต๊ะ50111
(2)อบต.ตุยงL3065
(3)อบต.ท่ากำชำL3066
(4)เทศบาลตำบลบ่อทองL7012
(5)อบต.บางเขาL3067
(6)อบต.บางตาวาL3068
(7)อบต.ปุโละปุโยL3069
(8)อบต.ลิปะสะโงL3071
(9)เทศบาลตำบลหนองจิก L8283
ในเขตอำเภอสายบุรี/กะพ้อ/ไม้แก่น นางเต็มดวงวงศา รับผิดชอบ 4 แห่ง คือ (1)อบต.กะดุนงL3052
(2)เทศบาลตำบลเตราะบอนL3054
(3)อบต.มะนังดาลำL3059
(4)อบต.ละหารL3060
นายสราวุธ วิชิตนันท์ รับผิดชอบ 5 แห่ง คือ (1)อบต.บางเก่าL3055
(2)อบต.บือเระL3056
(3)อบต.ปะเสยะวอL3057
(4)อบต.แป้นL3058 (5)อบต.ตะบิ้งL3053
นายอดุลย์มามะ รับผิดชอบ 4 แห่ง คือ (1)เทศบาลเมืองตะลุบันL7010
(2)อบต.กะรุบีL2971
(3)อบต.ตะโละดือรามันL2972
(4)อบต.ปล่องหอยL2973
น.ส.ซาลีนากอเสง รับผิดชอบ 3 แห่ง คือ (1)อบต.ดอนทรายL3022
(2)อบต.ตะโละไกรทองL3023
(3)อบต.ไทรทองL3024
สิ่งที่ต้องการ ทุกกองทุนเตรียมแผนงานปี 60 ของแต่ละกองทุน กองทุนที่สมัครใจให้พี่เลี้ยงลงไปช่วยแนะนำ ตรวจเยี่ยม เติมเต็ม การบริหารงานของคณะกรรมการกองทุนในพื้นที่ แนวทางแก้ไข กองทุนสุขภาพตำบลค้างท่อจำนวนมาก เป้าหมายสปสช.เขต-สธ.- สจรส.มอ.- อปท.(กองทุนสุขภาพตำบลคงเหลือ 25 แห่ง)ผลผลิต:แผนสุขภาพตำบล ระยะเวลา 3 ปี ประเด็นร่วม- ผู้สูงอายุ- โรคเรื้อรัง(เบาหวาน ความดัน)- ตาต้อกระจก- อุบัติเหตุ- ขยะ อาหาร-โภชนาการ บุหรี่ ยาเสพติดโครงการแก้ปัญหาสุขภาพระดับพื้นที่กองทุนสุขภาพระดับพื้นที่ระยะเวลา 3 ปี Workshop (28-11-59) สจรส.มอ.แผนสุขภาพกองทุนตำบลระดับเขตระยะเวลา 3 ปี และทีมพี่เลี้ยงติดตามกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 18 คน จากที่ตั้งไว้ 18 คน
ประกอบด้วย