กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ความฉลากทางอารมณ์ เป็นทักษะที่เกิดขึ้นด้วยกระบวนการเรียนรู้ซึ่งต้องเริ่มปลูกฝังตั้งแต่วัยเด้กมีแบบอย่างที่ดีควบคู่กับการอบรมสั่งสอนโดยเฉพาะพ่อแม่  ผู้ใหญ่ที่ใกล้ชิดและสิ่งแวดล้อมรอบตัวเด็ก มีกรเปิดโอกาสให้เด็กได้รับรู้ แสดงอารมณ์ได้อย่างถูกต้องรวมทั้งให้เด็กได้รู้จักจัดการอารมณ์ของตนเอง ควบคุมอารมณ์ มีวินัย รู้จักอดทน รอคอย เข้าใจและเห็นใจผู้อื่น เป็นต้น

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อพัฒนาศักยาภาพครูผู้ดูแล เด็ก ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้า ใจวิธีการส่งเสริมควมฉลาดทาง อารมณ์ในเด็กปฐมวัยได้อย่าง เหมาะสม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ครูผู้ดูปลเด็กมีความรู้ความเข้าใจวิธีการส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ในเด้กปฐมวัยได้อย่างเหมาะสม
0.00

 

2 2.เพื่อให้ครูสามารถนำกิจกรรม การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศา- สตร์เพื่อเสริมสร้างควมฉลาดทาง อารมณ์ในเด็กปฐมวัยไปใช้ใน แนวทางในการจัดการเรียนการ สอน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการ ส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนา การทางอารมณ์ที่ดี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของครูผู้ดูแลเด็กสามารถนำกิจกรรม/การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์เพื่อเสริมสร้างความฉลาดทางอารมณ์ในเด็กปฐมวัยไปใช้เป็นแนวในการจัดเรียนการสอน
0.00

 

3 3.เพื่อสร้างเสริมความฉลาดทาง อารมณ์ในเด็กปฐมวัยผ่านกิจ- กรรมทางวิทยาศาสตร์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีความฉลาดทางอารมณ์อยู่ในระดับดี
0.00

 

4 4.เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่าง ของคะแนนความฉลาดทางอารมณ์ของเด็กปฐมวัยก่อนเข้า การทดลองและหลังทดลอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีระดับคะแนนความฉลาดทางอารมณ์หลังการทดลองอยู่ในระดับดีกว่าก่อนการทดลอง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 45
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 45
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อพัฒนาศักยาภาพครูผู้ดูแล เด็ก ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้า ใจวิธีการส่งเสริมควมฉลาดทาง อารมณ์ในเด็กปฐมวัยได้อย่าง เหมาะสม (2) 2.เพื่อให้ครูสามารถนำกิจกรรม การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศา- สตร์เพื่อเสริมสร้างควมฉลาดทาง อารมณ์ในเด็กปฐมวัยไปใช้ใน แนวทางในการจัดการเรียนการ สอน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการ ส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนา การทางอารมณ์ที่ดี (3) 3.เพื่อสร้างเสริมความฉลาดทาง อารมณ์ในเด็กปฐมวัยผ่านกิจ- กรรมทางวิทยาศาสตร์ (4) 4.เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่าง ของคะแนนความฉลาดทางอารมณ์ของเด็กปฐมวัยก่อนเข้า การทดลองและหลังทดลอง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1)  กิจกรรมย่อย เรื่องพับหรือตัด ก็ทับกันสนิท (2) กิจกรรมย่อย เรื่องไหลค่อย ไหลแรง (3)  กิจกรรมย่อย การอบรมให้ ความรู้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็กเรื่อง ความสำคัญของการส่งเสริมความ ฉลาดทางอารมณ์ในเด็กปฐมวัย แนวทางการส่งเสริม การประเมิน ความฉลาดทางอารมณ์ (4) 2.8 กิจกรรมย่อย เรื่องน้ำ ทราย น้ำมัน (5)  กิจกรรมย่อย เรื่องการละลาย ของน้ำตาล (6) กิจกรรย่อย เรื่องการหักเหของ น้ำ (7)  กิจกรรมย่อย เรื่องความลับของ สีดำ (8) กิจกรรมย่อย เรื่องจรวดหลอด  (9) กิจกรรมย่อย เรื่องตัวทำลาย (10) กิจกรรมย่อย เรื่องปั้มขวดและ ลิฟท์เทียน (11)  กิจกรรมย่อย เรื่องภูเขาไฟ ระเบิด (12)  กิจกรรมย่อย เรื่องสนุกกับ ฟองสบู่ (13) กิจกรรมย่อย เรื่องเนินน้ำ (14) กิจกรรม เรื่องเมล็ดพืชเต้น ระบำ (15)  กิจกรรมย่อยเรื่องกักน้ำไว้ได้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh