กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.1 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนิบงบารู ได้ดำเนินโครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี ประจำปี 2561 ในกิจกรรมทีวางแผนไว้ทุกกิจกรรม โดยมีการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้ปกครองและมีผู้ปกครองต้นแบบที่เลี้ยงบุตรอย่างดี และรับวัคซีนร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในครั้งนี้ มีการออกรณรงค์ให้ความรู้แก่ประชาชน และผู้ปกครองเด็กในหมู่ 3,7,13 ตำบลสะเตงนอก จัดทีมเฉพาะกิจออกให้บริการฉีดวัคซีนแก่เด็กในหมู่บ้านในกรรีที่เด็กไม่มารับวัคซีนครบตามเกณฑ์ กรณีที่ออหน่วยเฉพาะกิจในหมู่บ้านแล้วไม่พบเด็กให้ อสม.ติดตามเด็กมารับวัคซีนที่หน่วยบริการ รวมทั้งมีการมอบชุดพัฒนาการเด็กให้แก่เด็ดที่มารับวัคซีนครบตามเกณฑ์   1.2 ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ในเด็กอายุ 0-5 ปี เพิ่มขึ้นจากปี 2560 ที่ผ่านมา ดังนี้       - ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในเด็กอายุครบ 1 ปี เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาคิดเป็นร้อยละ 79.31 (ปี 2560 คิดเป็นร้อยละ 79.00) แต่ยังไม่บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้คือ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน ให้ได้ร้อยละ 90       - ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในเด็กอายุครบ 2 ปี เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาคิดเป็นร้อยละ 84.70 (ปี 2560 คิดเป็นร้อยละ 70.59) แต่ยังไม่บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้คือ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน ให้ได้ร้อยละ 90       - ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในเด็กอายุครบ 3 ปี เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาคิดเป็นร้อยละ 80.49 (ปี 2560 คิดเป็นร้อยละ 79.71) แต่ยังไม่บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้คือ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน ให้ได้ร้อยละ 90       - ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในเด็กอายุครบ 5 ปี เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาคิดเป็นร้อยละ 73.70 (ปี 2560 คิดเป็นร้อยละ 64.10) แต่ยังไม่บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้คือ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน ให้ได้ร้อยละ 90       - ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน MMR เข็มที่ 1 ในเด็กอายุครบ 9 เดือน - 12 เดือน เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา คิดเป็นร้อยละ 85.60 (ปี 2560 คิดเป็นร้อยละ 83.00) แต่ยังไม่บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้คือ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน ให้ได้ร้อยละ 90       - ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน MMR ครบทั้ง 2 ในเด็กอายุครบ 2 ปีครึ่ง เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา คิดเป็นร้อยละ 89.13 (ปี 2560 คิดเป็นร้อยละ 86.99) แต่ยังไม่บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้คือ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน ให้ได้ร้อยละ 90       - ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนโปลีโอ ชนิดฉีด (IPV) ในเด็กอายุครบ 4 เดือน เพิ่มขึ้นจากปี่ผ่านมา คิดเป็นคร้อยละ 93.40 (ปี 2560 คิดเป็นร้อยละ 76.15) บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้คือ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน ให้ได้ร้อยละ 90     1.3 ลดอัตราการป่วย/ตายในโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีน คิดเป็นร้อยละ 0 ต่อแสนประชากร (ซึ่งเป้าหมายต้องน้อยกว่าร้อยละ 5 ต่อแสนประชากร) แหล่งที่มาของข้อมู : ระบบงาน HDC สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อเพิ่มความครอบคลุมการได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ในเด็กอายุ 0-5 ปี ให้ได้ร้อยละ 90
ตัวชี้วัด :
0.00 0.00

 

2 2. เพื่อลดอัตราการป่วยตายในโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีนได้
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3. เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กที่มีอายุ 0 - 5 ปี ได้รับความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 4. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการในเด็กอายุ 0 - 5 ปี
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเพิ่มความครอบคลุมการได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ในเด็กอายุ 0-5 ปี ให้ได้ร้อยละ 90 (2) 2. เพื่อลดอัตราการป่วยตายในโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีนได้ (3) 3. เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กที่มีอายุ 0 - 5 ปี ได้รับความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน (4) 4. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการในเด็กอายุ 0 - 5 ปี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh