กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 - กลุ่มเสี่ยง 1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างถูกต้อง
50.00 50.00

 

2 - กลุ่มป่วยที่ควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้ควบคุมโรคไม่ได้ 1. เพื่อให้กลุ่มป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ควบคุมโรคได้และควบคุมโรคไม่ได้ ได้รับการตรวจสุขภาพโดยทีมสหวิชาชีพ และมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ร้อยละ 40 ของกลุ่มป่วยทั้งหมด
ตัวชี้วัด : กลุ่มป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการตรวจสุขภาพโดยทีมสหวิชาชีพ และมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ร้อยละ 40 ของกลุ่มป่วยทั้งหมด
100.00 40.00

 

3 - กลุ่มป่วยที่ภาวะแทรกซ้อน 1. เพื่อให้กลุ่มป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อน ได้รับการติดตามและเยี่ยมบ้านโดยกลุ่มเพื่อนเยี่ยมเพื่อน ร้อยละ 50 ของกลุ่มป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพและสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน ในการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดัฯโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : กลุ่มผู้ป่วยได้รับการติดตามและเยี่ยมบ้าน ร้อยละ 50
50.00 100.00 50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 200
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) - กลุ่มเสี่ยง 1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างถูกต้อง (2) - กลุ่มป่วยที่ควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้ควบคุมโรคไม่ได้ 1. เพื่อให้กลุ่มป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ควบคุมโรคได้และควบคุมโรคไม่ได้ ได้รับการตรวจสุขภาพโดยทีมสหวิชาชีพ และมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ร้อยละ 40 ของกลุ่มป่วยทั้งหมด (3) - กลุ่มป่วยที่ภาวะแทรกซ้อน 1. เพื่อให้กลุ่มป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อน ได้รับการติดตามและเยี่ยมบ้านโดยกลุ่มเพื่อนเยี่ยมเพื่อน ร้อยละ 50 ของกลุ่มป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพและสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน ในการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดัฯโลหิตสูง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการแก่กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างถูกต้องตามวิถีชมชน (2) จัดกิจกรรมตรวจสุขภาพ ให้ความรู้ เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน (3) จัดเวทีเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน (4) สาธิตเป็นอาหารส่งเสริมสุขภาพแก่กลุ่มผู้ผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh