กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากการดำเนินการโครงการ ผู้สูงอายุได้มีการพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์และรู้สึกมีคุณค่าในตนเองและผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองผู้สูงอายุที่พึงประสงค์ ร้อยละ 70 และมีความรู้ในการใช้สมุนไพพรในการดูแลสุขภาพ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการพพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์และรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายได้มีการพบปะแแลกเปลี่ยนประสบการณ์และรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง
53.00 53.00

 

2 เพื่อให้ผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์ผู้สูงอายุที่พึงประสงค์ ร้อยละ 70
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์ผู้สูงอายุที่พึงประสงค์ ร้อยละ 70
53.00 53.00

 

3 เพื่อให้ดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุมีความต่อเนื่องและยั่งยืน
ตัวชี้วัด : การดำเนินงานของผู้สูงอายุมีความต่อเนื่องและยั่งยืน
53.00 53.00

 

4 เพื่อให้ผู้สงอายุสามารถดูแลลสุุขภาพและแก้ปัญหาสุขภาพได้ด้วยตนเอง
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพและแก้ปัญหาสุขภาพได้ด้วยตนเอง
53.00 53.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

ด้วยชมรมผู้สูงอายุ รพ.สต.ทับช้าง ได้จัดทำโครงการโครงการผู้สูงอายุจิตแจ่มใส่ ร่างกายแข็งแรง ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับช้าง อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5198-2-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 8 พฤศจิกายน 2559 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,180.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทับช้าง เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์และรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง และผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพและแก้ปัญหาสุขภาพได้ด้วยตนเองและเพื่อให้การดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุมีความต่อเนื่องและยั่งยืนโดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 53 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้ ผู้สูงอายุได้มีการพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์และรู้สึกมีคุณค่าในตนเองและผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองผู้สูงอายุที่พึงประสงค์ ร้อยละ 70 และมีความรู้ในการใช้สมุนไพพรในการดูแลสุขภาพ

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh