กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลจากการดำเนินงานโครงการเฝ้าระวังโภชนาการในเด็ก ๐-๖ ปี ตำบลยาบี กลุ่มเป้าหมาย ๑๒๖ คน รวมทั้งหมด ๕ หมู่บ้าน โดยการมีจัดกิจกรรมเเลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในการดูเเลเด็ก ๐-๖ ปี กับเครือข่ายผู้ปกครองเเละผู้ดูเเล ทำให้ผู้ปกครองเเละผู้ดูเเลมีความรู้ความเข้าใจเพิ่มมากขึ้นเกี่ยวกับการเลือกรับประทานอาหารที่ส่งเสริมภาวะโภชนาการของเด็กให้เป็นไปตามวัย โดยใช้การสังเกตจากการตอบคำถามของผู้ปกครอง ผู้ดูเเลเด็ก เเละจากผลการติดตามชั่งน้ำหนักเด็กหลังจากการเเลกเปลี่ยนเรียนรู้ พบว่าภาวะโภชนาการเด็กที่สมส่วน ๖๐ ราย คิดเป็นร้อยละ ๔๗.๖๑ ผอม ๒๑ ราย คิดเป็นร้อยละ ๑๖.๖๖ ค่อนข้างผอม ๔๑ ราย คิดเป็นร้อยละ ๓๒.๕๓ ค่อนข้างเตี้ย ๔ ราย คิดเป้นร้อยละ ๓.๑๗ จากการวิเคราะห์ข้อมูลของปี ๖๒ พบว่า เด็กอายุ ๐-๖ ปี ยังมีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ (เด็กผอม เด็กค่อนข้างผอม ค่อนข้างเตี้ย ) เช่น พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้อง เป็นต้น

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการ ในกลุ่มเด็ก 0- 6 ปี
ตัวชี้วัด : เด็ก 0-6ปีได้รับการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ
100.00 100.00

 

2 เพื่อให้ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ความเข้าใจ ถึงภาวะโภชนาการในเด็ก 0-6 ปี
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ความเข้าใจ ถึงภาวะโภชนาการในเด็ก 0-6 ปี
100.00 100.00

 

3 เพื่อให้เด็ก0-6 ปีมีโภชนาการสมวัย
ตัวชี้วัด : เด็ก0-6 ปีมีภาวะโภชนาการสมวัย
57.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100 100
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการ ในกลุ่มเด็ก 0- 6 ปี (2) เพื่อให้ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ความเข้าใจ ถึงภาวะโภชนาการในเด็ก 0-6 ปี (3) เพื่อให้เด็ก0-6 ปีมีโภชนาการสมวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและ อสม. (2) ถอดบทเรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการดูแลเด็ก 0-6 ปี รุ่นที่ 1 (3) ถอดบทเรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการดูแลเด็ก 0-6 ปี รุ่นที่ 2 (4) อสม.ลงพื้นที่ชั่งน้ำหนักเด็ก 0-6 ปี (5) อสม.ลงพื้นที่ชั่งน้ำหนักเด็ก 0-6 ปี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh