กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

ปัญหาไข้เลือดออกเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่มีความสำคัญทั้งในระดับประเทศและในระดับชุมชนมาช้านาน อีกทั้งเชื้อไข้เลือดออกที่มีหลายประเภทและมีความรุนแรงที่ต่างกันโดยจรวย สุวรรณบำรุงและคณะ (2554) ได้อธิบายว่าโรคไข้เลือดออกส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อไวรัสเดงกี (Dengue Hemorrhagic Fever) ซึ่งมียุงลายเป็นพาหะและเป็นโรคที่เป็นปัญหาสาธารณสุขยากแก่การควบคุมให้ได้ผลสำเร็จ นอกจากนี้กันต์ธมน สุขกระจ่างและคณะ(2559) ยังได้อธิบายอีกว่าการป้องกันและควบคุมโรคที่ได้ผลดีที่สุด คือการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายและการป้องกันไม่ให้ยุงกัด อีกทั้งกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข(2556) ยังมีนวัตกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกโดยวิธีการกำจัดพาหะ การป้องกันประชาชนไม่ให้ถูกยุงกัดตลอดจนการสำรวจทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายเพื่อไม่ให้เกิดการขยายพันธ์เพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตามกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลแป-ระ ได้ดำเนินงานควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลแป-ระ โดยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ภายใต้กิจกรรมวาระตำบล ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2560 เป็นต้นมา ทำให้สถานการณ์โรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลแป-ระ ลดลง เป็นอย่างมากประสบความสำเร็จ เชิง Outcome และ Output โดยพบว่าจำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออก ในปี พ.ศ. 2559 มีจำนวน 196 ราย ลดลงเหลือ 28 ราย ในปี พ.ศ. 2560 และมีอัตราเพิ่มขึ้นเล็กน้อยในปี 2561 พบผู้ป่วยจำนวน 52 ราย และในปี 2561 ยังพบผู้ป่วย ชิคุนกุนย่า ซึ่งเป็นโรคติดต่อโดยยุงเป็นพาหะ จำนวน 11 ราย

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ