กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้เกษตรกรและผู้บริโภคมีความรู้ในการป้องกันตนเองจากสารเคมีที่ใช้ในการเกษตร
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเกษตรกรและผู้บริโภคที่เข้าร่วมโครงการ ได้รับความรู้เรื่องการป้องกันตนเองจากสารเคมีที่ใช้ในการเกษตร
0.00

 

2 2. เพื่อให้เกษตรกรและผู้บริโภคได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพและประเมินความเสี่ยงจากการสัมผัสสารเคมีที่ใช้ในการเกษตร
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 ของเกษตรกรจากทะเบียนเกษตรกร ได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพ ประเมินความเสี่ยง และตรวจเลือดหาระดับเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรส
0.00

 

3 . เพื่อให้เครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่มีความรู้เรื่องการป้องกันตนเองจากสารเคมีที่ใช้ในการเกษตร
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่ ผ่านการอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันตนเองจากสารเคมีที่ใช้ในการเกษตร
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เกษตรกรและผู้บริโภคมีความรู้ในการป้องกันตนเองจากสารเคมีที่ใช้ในการเกษตร (2) 2. เพื่อให้เกษตรกรและผู้บริโภคได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพและประเมินความเสี่ยงจากการสัมผัสสารเคมีที่ใช้ในการเกษตร (3) . เพื่อให้เครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่มีความรู้เรื่องการป้องกันตนเองจากสารเคมีที่ใช้ในการเกษตร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1 สำรวจข้อมูลเกษตรกรในพื้นที่ 1.1 สำรวจและจัดทำข้อมูลเกษตรกรผู้ใช้สารป้องกันและกำจัดศัตรูพืชในพื้นที่ (2) กิจกรรมที่ 2 การประเมินความเสี่ยงในกลุ่มเกษตรกรและผู้บริโภค 2.1 จัดทำหนังสือเชิญเกษตรกรกลุ่มเป้าหมาย 2.2 ประชาสัมพันธ์ข่าวสารแก่ผู้สนใจ เช่น กลุ่มผู้บริโภคผัก ผลไม้ กลุ่มบุคคลที่อาศัยอยู่ใกล้แหล่งเพาะปลูกที่มีการฉีดพ่นสารกำจัดศัตรูพืช (3) 2.3 ประเมินความเสี่ยงในการทำงานของเกษตรกรจากการสัมผัสสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ตามแบบ นบก. 1-56 (4) 2.4 ตรวจเลือดเพื่อหาระดับเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรส (5) 2.5 ให้ความรู้แก่กลุ่มเกษตรกรและผู้บริโภคที่เข้ารับการตรวจประเมินความเสี่ยง เรื่องการป้องกันตนเองจากสารเคมีที่ใช้ในการเกษตร และการใช้สมุนไพรล้างพิษ โดยจัดเป็นกลุ่มย่อย (6) 2.6 จัดทำหนังสือแจ้งผลการตรวจเลือดหาระดับเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรส โดยจัดส่งผ่าน อสม.ในพื้นที่ (7) 2.7 ติดตามกลุ่มผู้มีความเสี่ยง เพื่อเข้ารับการตรวจซ้ำ โดยเว้นระยะห่างอย่างน้อย 1 เดือน (8) กิจกรรมที่ 3 การเผยแพร่ความรู้และสร้างกลุ่มแกนนำ (9) 3.1 จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อให้มีความรู้ในการถ่ายทอดไปยังกลุ่มเกษตรกร และผู้สนใจ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh