กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ผลการดำเนินงาน 1.1 สรุปผลการดำเนินงานโดยแยกตามวัตถุประสงค์ดังนี้
  2. เพื่อให้เด็กมีสุขภาพช่องปากที่ดี
        - ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็กได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพฟันของเด็ก ต้องแปรงฟันอย่างน้อยวันละ 2 ครั้งคือ เช้า และ ก่อนนอน หรือแปรงฟันทุกครั้งหลังกินอาหารกลางวันกรณีเด็กอยู่ที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฯ และควรพาบุตรหลานพบหมอฟันตั้งแต่เด็กๆ โดยอย่าขู่เด็กให้กลัวหมอฟัน เพราะจะทำให้เด็กฝังใจจนไม่อยากไปพบหมอฟันในครั้งต่อไป
    1. เพื่อผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลตุยง บ้านบางปลาหมอ มีความรู้และมีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กที่ถูกต้อง     - ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก ได้รับความรู้จากการสาธิตการแปรงฟันของเด็กที่ถูกวิธีและการเลือกแปรงฟันและยาสีฟันที่เหมาะสมกับเด็กในวัยนี้         - กิจกรรมการเคลือบฟลูออไรด์วานิชซึ่งทางโรงพยาบาลหนองจิกได้ส่งบุคลากรเข้ามาให้บริการกับเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอบต.ตุยง บ้านบางปลาหมอ อย่างน้อย 2 ครั้งต่อปี     สรุปผลการดำเนินงาน มีการดำเนินงานตามแผนการดำเนินงานดังนี้ แผนการดำเนินงาน โครงการฟันดี ยิ้มสดใส ปีงบประมาณ 2563 วัน เดือน ปี เวลา กิจกรรม 1 กันยายน 2563

7 กันยายน 2563 18 กันยายน 2563 08.00 น.- 08.30 น.
08.30 น. - 09.00 น.
09.00 น. - 12.00 น.

12.00 น. -13.00 น.
13.00 น. - 16.00 น.

16.00 น.– 16.30 น. จัดประชุมคณะกรรมการและคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินโครงการ ประชาสัมพันธ์โครงการ

ลงทะเบียน พิธีเปิด โดย รองปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลตุยง อบรม หัวข้อ สร้างสุขลักษณะที่ดีในการดูแลช่องปากสำหรับเด็ก (วิทยากรจากรพ.หนองจิก) พักรับประทานอาหารกลางวัน การแปรงฟันอย่างถูกวิธีและปัญหาเด็กไทยกับโรคฟันผุ(วิทยากรจากรพ.หนองจิก) สรุปกิจกรรม/ซักถามปัญหาทั่วไป


1.2 จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 50 คน 1.3 จากการทดสอบความรู้ก่อนและหลังการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลรักษาฟันในเด็ก กลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการอบรมเรื่องสร้างสุขลักษณะที่ดีในการดูแลช่องปากสำหรับเด็ก จำนวน 50 คน ดังนี้ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ตารางที่ 1 แสดงร้อยละของเพศผู้เข้ารับการอบรม เพศ จำนวน ร้อยละ ชาย 11 22 หญิง 39 78 รวม 50 100 จากตารางที่ 1 พบว่า จำนวนผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 78 รองลงมาเพศชาย ร้อยละ
22 ตารางที่ 2 แสดงสถานภาพสมรสของผู้เข้ารับการอบรม สถานภาพ จำนวน ร้อยละ โสด 5 10 สมรส 45 90 หม้าย - - อื่นๆ - - รวม 50 100 จากตารางที่ 2 พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมมีสถานภาพสมรสมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 90 รองลงมาโสดร้อยละ 10 ตารางที่ 3 แสดงระดับการศึกษาของผู้เข้ารับการอบรม สถานภาพ จำนวน ร้อยละ ไม่ได้เรียน 2 4 ประถมศึกษา 2 4 มัธยมศึกษา 35 70 อนุปริญญาหรือประกาศนียบัตร 6 12 ปริญญาตรี              5 10 รวม 50 100

จากตารางที่ 3 พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมมีระดับการศึกษา รองลงมามัธยมศึกษามากที่สุดคิดเป็นร้อยละ70รองลงมาระดับอนุปริญญาร้อยละ 12 ปริญญาตรี ร้อยละ 10 ตามลำดับ





ตารางที่ 4 แสดงอาชีพของผู้เข้ารับการอบรม อาชีพ จำนวน ร้อยละ ค้าขาย 5 10 รับจ้าง 33 66 เกษตรกร 5 10 แม่บ้าน 5 10 รับราชการ            2 4 รวม 50 100 จากตารางที่ 4 พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมมีอาชีพรับจ้างมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 66 รองลงมาแม่บ้าน,เกษตรกร ค้าขายร้อยละ10 และรับราชการร้อยละ 4 ตามลำดับ ส่วนที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับสร้างสุขลักษณะที่ดีในการดูแลช่องปากสำหรับเด็ก ตารางที่ 1 แสดงความรู้เกี่ยวกับสร้างสุขลักษณะที่ดีในการดูแลช่องปากสำหรับเด็กของผู้เข้ารับการอบรมก่อนการอบรมแยกในแต่ละข้อ

ข้อ/คำถาม ตอบถูก (คน) ร้อยละ ตอบผิด (คน) ร้อยละ (1)ฟันน้ำนมของลูกสำคัญ เพราะพัฒนาการด้านต่างๆ ที่สำคัญต่อสุขภาพฟันในอนาคตขึ้นอยู่กับฟันน้ำนม 18 36 32 64 (2) สอนให้เด็กเล็กเริ่มใช้แก้วน้ำแทนขวดนมตั้งแต่อายุ 6-12 เดือนและเปลี่ยนจากขวดนม เป็นการใช้แก้วน้ำตอนอายุ 1 ปี 15 30 35 70 (3)การแปรงฟันด้วยแปรงสีฟันในเด็กควรเริ่มไม่ช้าไปกว่าเมื่อมีฟันกรามน้ำนมขึ้นเพราะบริเวณด้านบดเคี้ยวของฟันกรามมีหลุมร่องฟันลึก 9 18 41 82 (4)วิธีการแปรงฟันที่ง่ายและมีประสิทธิภาพดีในเด็กคือเทคนิคการแปรงที่เรียกว่า Horizontal scrub คือวางแปรงในแนวนอน และขยับสั้นๆในแนวนอน 9 18 41 82 (5)การที่ปล่อยให้เด็กทารกหลับไปพร้อมขวดนมเมื่อเด็กทารกนอนหลับน้ำตาลที่อยู่ในของเหลวก็จะเคลือบอยู่รอบๆฟัน และเป็นสาเหตุของฟันผุ 10 20 40 80 (6) เมื่อฟันน้ำนมผุจะเกิดปัญหาทางการได้ยินและการพูด 12 24 38 76 (7)อย่าให้เด็กเข้านอนขณะที่ยังดื่มนม น้ำผลไม้ หรือน้ำหวานจากขวดนม แต่ถ้าจำเป็นต้องให้เด็กทารกหลับพร้อมขวดนมให้เติมน้ำเปล่าแทน 10 20 40 80 (8) ผู้ปกครองควรเป็นผู้บีบยาสีฟันและแปรงฟันให้อย่างน้อยวันละสองครั้งคือ เช้าและก่อนนอน 15 30 35 70 (9) ปริมาณยาสีฟันที่ใช้ในเด็กอายุน้อยกว่าสามปีให้บีบยาสีฟันแค่เป็นจุดพอเปียก (smear) และเด็กอายุ 3-6 ปีให้บีบยาสีฟันขนาดเท่าขนาดแปรงเด็ก 14 28 36 72 (10) การตรวจฟันตามหมอนัดอย่างสม่ำเสมอทุก 6 เดือนเพื่อช่องปากที่ดีของเด็ก 11 22 39 78

จากตารางที่ 1 พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ก่อนการอบรมตอบถูกในข้อคำถามที่ 1 มากสุดที่ร้อยละ 36 มีความรู้ตอบถูกน้อยสุดที่ข้อคำถามที่ 3,4 ร้อยละ 18
ตารางที่ 2 แสดงความรู้เกี่ยวกับสร้างสุขลักษณะที่ดีในการดูแลช่องปากสำหรับเด็กของผู้เข้ารับการอบรมหลังการอบรมแยกในแต่ละข้อ

ข้อ/คำถาม ตอบถูก (คน) ร้อยละ ตอบผิด (คน) ร้อยละ (1)ฟันน้ำนมของลูกสำคัญ เพราะพัฒนาการด้านต่างๆ ที่สำคัญต่อสุขภาพฟันในอนาคตขึ้นอยู่กับฟันน้ำนม 40 80 10 20 (2) สอนให้เด็กเล็กเริ่มใช้แก้วน้ำแทนขวดนมตั้งแต่อายุ 6-12 เดือนและเปลี่ยนจากขวดนม เป็นการใช้แก้วน้ำตอนอายุ 1 ปี 45 90 5 10 (3)การแปรงฟันด้วยแปรงสีฟันในเด็กควรเริ่มไม่ช้าไปกว่าเมื่อมีฟันกรามน้ำนมขึ้นเพราะบริเวณด้านบดเคี้ยวของฟันกรามมีหลุมร่องฟันลึก 42 84 8 16 (4)วิธีการแปรงฟันที่ง่ายและมีประสิทธิภาพดีในเด็กคือเทคนิคการแปรงที่เรียกว่า Horizontal scrub คือวางแปรงในแนวนอน และขยับสั้นๆในแนวนอน 45 90 5 10 (5)การที่ปล่อยให้เด็กทารกหลับไปพร้อมขวดนมเมื่อเด็กทารกนอนหลับน้ำตาลที่อยู่ในของเหลวก็จะเคลือบอยู่รอบๆฟัน และเป็นสาเหตุของฟันผุ 43 86 7 14 (6) เมื่อฟันน้ำนมผุจะเกิดปัญหาทางการได้ยินและการพูด 45 90 5 10 (7)อย่าให้เด็กเข้านอนขณะที่ยังดื่มนม น้ำผลไม้ หรือน้ำหวานจากขวดนม แต่ถ้าจำเป็นต้องให้เด็กทารกหลับพร้อมขวดนมให้เติมน้ำเปล่าแทน 43 86 7 14 (8) ผู้ปกครองควรเป็นผู้บีบยาสีฟันและแปรงฟันให้ อย่างน้อยวันละสองครั้งคือ เช้าและก่อนนอน 48 96 2 4 (9) ปริมาณยาสีฟันที่ใช้ในเด็กอายุน้อยกว่าสามปีให้บีบยาสีฟันแค่เป็นจุดพอเปียก (smear) และเด็กอายุ 3-6 ปีให้บีบยาสีฟันขนาดเท่าขนาดแปรงเด็ก 43 86 7 14 (10) การตรวจฟันตามหมอนัดอย่างสม่ำเสมอทุก 6 เดือนเพื่อช่องปากที่ดีของเด็ก 42 84 8 16


จากตารางที่ 2 พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้หลังการอบรมตอบถูกในข้อคำถามที่ 2,4,6 มากสุดที่ร้อยละ 90 มีความรู้ตอบถูกน้อยสุดที่ข้อคำถามที่ 1 ร้อยละ 80 เมื่อเปรียบเทียบความรู้ก่อนการอบรมและหลังการอบรมพบว่าผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 90 2. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด 2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์ •บรรลุตามวัตถุประสงค์ •ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ เพราะ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................ 2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ..................50............................................ คน 3. การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ............12,700.....................................บาท งบประมาณเบิกจ่ายจริง ............ 12,700.................บาทคิดเป็นร้อยละ........100............... งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ ..........................................บาทคิดเป็นร้อยละ.............................. 4.สรุปผลความพึงพอใจต่อการร่วมกิจกรรม
  ระดับ 5 = มากที่สุด  4 = มาก  3 = ปานกลาง  2 = น้อย  1 = น้อยที่สุด
ที่ รายการ ระดับความพึงพอใจ 5 4 3 2 1 1 รูปแบบการจัดกิจกรรม √
2 ระยะเวลาในการจัดและการประชาสัมพันธ์ √
3 ความเหมาะสมของสถานที่ √
4 ความเหมาะสมของวิทยากร √
5 การถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร เข้าใจง่าย น่าสนใจ √
6 กิจกรรมที่จัดตรงกับความต้องการของผู้ร่วมกิจกรรม √
7 การดูแลเอาใจใส่ของผู้จัดกิจกรรม √
8 ความสะดวกในการเดินทางมาร่วมกิจกรรม √
9 การนำไปใช้ประโยชน์ / ประโยชน์ที่ได้ √
10 ความพึงพอใจต่อกิจกรรมที่จัด √
สรุปผลประเมินโครงการ ( ใช้ค่าฐานนิยม ) ระดับความพึงพอใจ ระดับ 5 = มากที่สุดหรือดีมาก

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กมีสุขภาพช่องปากที่ดี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 เด็กมีสุขภาพช่องปากที่ดี
50.00 50.00 100.00

 

2 เพื่อผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลตุยง บ้านบางปลาหมอ มีความรู้และมีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ผู้ปกครองเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลตุยง บ้านบางปลาหมอ มีความรู้และมีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กที่ถูกต้อง
50.00 50.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กมีสุขภาพช่องปากที่ดี (2) เพื่อผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลตุยง บ้านบางปลาหมอ มีความรู้และมีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กที่ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน (2) จัดประชุมชี้แจงโครงการ (3) พัฒนาองค์ความรู้ (4) สรุปผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh