กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวาน สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี *ผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่มีโรคร่วมที่มีค่าระดับน้ำตาลในเลือด HbA1c น้อยกว่าร้อยละ 7 *ผู้ป่วยเบาหวานที่มีโรคร่วมที่มีค่าระดับน้ำตาลในเลือด HbA1c น้อยกว่าร้อยละ 8
26.26 30.00 33.00

 

 

ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับความรู้และมีความตระหนักถึงภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน

2 ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง สามารถควบคุมระดับความดันได้ดี <140/90
53.63 65.00 68.47

 

 

ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับความรู้ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร

3 ร้อยละของผู้ป่วยโรคผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจไขมัน LDL และมีค่า LDL < 100 mg/dl
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจไขมัน LDL และมีค่า LDL < 100 mg/dl
43.50 40.00 42.50

 

 

ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับความรู้ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร

4 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางตาและเท้า
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางตาและเท้า
64.62 70.00 79.37