กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
กิจกรรมที่ 1สำรวจ ตรวจร้านขายของชำในพื้นที่รับผิดชอบและแจกสื่อประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับยาอันตรายให้แก่ผู้ประกอบการร้านขายของชำในพื้นที่ 1 เม.ย. 2563 5 ต.ค. 2563

 

กิจกรรม 1. ประชุมชี้แจงอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภค เพื่อวางแผนในการดำเนินงานตรวจร้านขายของชำ จำนวน 9 คน โดยเจ้าหน้าที่       2. ดำเนินการสำรวจและตรวจร้านขายของชำในพื้นที่รับผิดชอบ แก่กลุ่มเป้าหมายผู้ประกอบการ จำนวน 30 ร้าน โดยเจ้าหน้าที่ร่วมกับอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภค

 

ออกดำเนินการตรวจ30ร้าน 9 คน ครบ100% / ร้านมีความรู้ความความเข้าใจเรื่องร้าน

 

กิจกรรมที่ 2 จัดทำหนังสือเชิญผู้ประกอบการให้ความรู้เรื่องร้านขายของชำปลอดยาอันตรายในตำบลปากล่อ 1 พ.ค. 2563 1 พ.ค. 2563

 

จัดทำหนังสือเชิญวิทยากรนาย อาภัย มาลินี เภสัชกรโรงพยาบาลโคกโพธิ์ มาเป็นวิทยากรในวันที่ 20 พ.ค. 2563 และผู้ประกอบการให้ความรู้เรื่องร้านขายของชำปลอดยาอันตรายในตำบลปากล่อ จำนวน 30 ร้าน มาเข้าร่วมอบรมในวันที่30 พ.๕. 2563 ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากล่อ อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี

 

กลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ ตรวจสอบ ร้อยละ สรุปผล ดำเนินการตรวจสอบการขายยาอันตรายภายในร้านขายของชำ กลุ่มเป้าหมาย 30 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 100 ลงตรวจสอบ จำนวน 30 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 100 โดยร้านขายของชำพบจำหน่ายยาอันตราย จำนวน 22 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 93

 

กิจกรรมที่ 3 จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการร้านขายของชำ และจัดทำเกียรติบัตร แก่ผู้ผ่านการอบรมร้านขายของชำปลอดยาอันตราย 20 พ.ค. 2563 20 พ.ค. 2563

 

1.จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการร้านขายของชำ เรื่องการเลือกผลิตภัณฑ์จำหน่ายในร้านขายของชำ และรายการยาที่ร้านขายของชำสามารถจำหน่ายได้ แก่กลุ่มเป้าหมายผู้ประกอบการ จำนวน 30 คน  6 ชั่วโมง  โดยวิทยากร 2.จัดทำเกียรติบัตร แก่ผู้ผ่านการอบรมร้านขายของชำปลอดยาอันตราย แก่กลุ่มเป้าหมายผู้ประกอบการ จำนวน 30 คน โดยเจ้าหน้าที่และวิทยากร

 

เป้าหมายในการจัดอบรม จำนวน 18 ร้าน คิดเป็นร้อยละ  60  โดยมีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมอบรมทั้งสิ้น จำนวน 27 ร้านค้า คิดเป็นร้อยละ 90 และมีเป้าหมายทั้งหมดที่ได้รับทำการทดสอบหลังได้รับความรู้ จำนวน 18 ร้านค้า คิดเป็นร้อยละ 60 ผลลัพธ์ร้านค้าที่ผ่านทดสอบ จำนวน 25 ร้านค้า คิดเป็นร้อยละ 83 ดังนั้นตัวชี้วัดดังกล่าวถือว่าผลลัพธ์มีผลบรรลุตามวัตถุประสงค์ดังกล่าวข้างต้น

 

กิจกรรมที่ 4 ออกตรวจติดตามการพัฒนาร้านชำ และให้รางวัลร้านชำที่มีการพัฒนาคุณภาพ 1 มิ.ย. 2563 1 มิ.ย. 2563

 

1.ออกตรวจติดตามการพัฒนาร้านชำ แก่กลุ่มเป้าหมายผู้ประกอบการ จำนวน 30 ร้าน โดยเจ้าหน้าที่ร่วมกับอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภค 2. ให้รางวัลร้านชำที่มีการพัฒนาคุณภาพ จำนวน 10 ร้าน โดยเจ้าหน้าที่ร่วมกับอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภค

 

ร้านค้าทั้งหมดที่ได้รับการสำรวจจำนวน 30 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 100 เป้าหมายทั้งหมดที่ยังมีการขายยาอันตราย เป้าหมาย 12 ร้าน คิดเป็นร้อยละ  60 พบว่า ร้านค้าที่ยังมีการขายยาอันตราย จำนวน8 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 27
และ เป้าหมายทั้งหมดที่ไม่มีการขายยาอันตราย จากจำนวน 30 ร้านค้า เป้าหมายจำนวน 18 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 60 พบว่า ร้านค้าที่ไม่มีการขายยาอันตราย จำนวน22ร้าน คิดเป็นร้อยละ 73 ถือว่าตัวชี้วัดดังกล่าว บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ และอย่างไรก็ตาม จำเป็นที่ต้องมีการสำรวจและพัฒนาร้านขายของชำกันต่อไป เพื่อให้คถณภาพชีวิตของประชาชนในตำบลปากล่อ มีคุณภาพชีวิตที่ดี ปลอดภัยจากการทานยาที่ไม่มีความเหมาะสมต่อร่างการ และมีความรุ้ในการดำเนิดชีวิตที่ดีขึ้น