กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.นักเรียนมีทักษะ และภูมิคุ้มกันในการจัดเก็บสถานที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ 2.นักเรียนมีความภาคภูมิใจในตนเอง และมีทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรมที่เสียงต่อการดำรงชีวิต 3.นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักถึงผลที่เกิดจาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรและการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อม

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างความตระหนัก และองค์ความรู้เรื่องบทบาท และคุณค่าของความเป็นชาย/หญิง ในสังคม พัฒนาการทางเพศ การจัดการอารมณ์ สัมพันธภาพทางเพศ พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่น การเสริมสร้างสุขภาพวัยรุ่น
ตัวชี้วัด : 1. ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 100ได้ตระหนักและเห็นคุณค่าของความเป็นชาย/หญิง ในสังคม ไม่มีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ ได้เสริมสร้างภูมิกันพฤติกรรมทางเพศ

 

2 เพื่อเสริมสร้างความภาคภูมิใจในตนเองของวัยรุ่น และมี ทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรม ที่เสี่ยงต่อการ ดำรงชีวิต
ตัวชี้วัด : 1. ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 100มีพฤติกรรมปฏิเสธพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการดำรงชีวิตได้

 

3 เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้นักเรียนได้มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการมี เพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร และรู้จักหน้าที่ความ รับผิดชอบ
ตัวชี้วัด : 1. ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 100ความเข้าใจ เกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร และรู้จักหน้าที่ความรับผิดชอบ

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 150
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างความตระหนัก และองค์ความรู้เรื่องบทบาท และคุณค่าของความเป็นชาย/หญิง ในสังคม พัฒนาการทางเพศ การจัดการอารมณ์ สัมพันธภาพทางเพศ พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่น การเสริมสร้างสุขภาพวัยรุ่น (2) เพื่อเสริมสร้างความภาคภูมิใจในตนเองของวัยรุ่น และมี
ทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรม ที่เสี่ยงต่อการ ดำรงชีวิต (3) เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้นักเรียนได้มีความรู้ ความเข้าใจ
เกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการมี
เพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร และรู้จักหน้าที่ความ รับผิดชอบ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh