กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมไม่ได้ ในเขตรับผิดชอบศูนย์บริการสาธารณสุข 2 ตลาดเก่า (ประเภทที่ 1)

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมไม่ได้ ในเขตรับผิดชอบศูนย์บริการสาธารณสุข 2 ตลาดเก่า (ประเภทที่ 1)

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา

ศูนย์บริการสาธารณสุข 2 ( ตลาดเก่า ) งานรักษาพยาบาลกลุ่มงานบริการการแพทย์และสาธารณสุขสำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครยะลา

เขตพื้นที่ตลาดเก่า เทศบาลนครยะลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

โรคเบาหวาน เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญปัญหาหนึ่งของประเทศ ในสภาพสังคม ปัจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลงทั้งเศรษฐกิจและสังคม ทำให้วิถีการดำเนินชีวิตของคนไทยเปลี่ยนแปลงไป ปัจจัยหนึ่งที่เห็นได้ ชัด คือพฤติกรรมการบริโภคของประชาชนเปลี่ยนไป ความเร่งรีบ ทำให้โอกาสในการเลือกรับประทานที่มีประโยชน์ น้อยลง ส่งผลกระทบต่อสุขภาพโดยตรง เห็นได้จากผู้ป่วย เบาหวานมีเพิ่มขึ้นทุกปีและจะทำให้มีโอกาสที่จะป่วย ด้วยโรคแทรกกซ้อนอื่นๆ ตามมา เช่น โรคหลอดเลือดหัวใจ มะเร็ง ไตเป็นต้น ทำให้เสียชีวิตก่อนวัยอันควรได้ จากข้อมูล HDC สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดยะลา พบว่า อัตราการป่วยด้วยโรคเบาหวานจังหวัดยะลาในรอบ 3 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ. 2561 – 2563) เพิ่มขึ้นจาก5,215 , 5,433, 5,641 ตามลำดับ เป็นกลุ่มเบาหวานที่ควบคุมไม่ได้ คิดเป็นร้อยละ 80.02, 74.05, 70.56 และอัตราป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง คิดเป็น 1.7, 1.5 และ 2.59 ในเขตเทศบาลนครยะลามีจำนวนผู้ป่วย 2,518, 2,502, 2,573เป็นกลุ่มเบาหวานที่ควบคุมไม่ได้ คิดเป็นร้อยละ 80.34, 68.75, 65.87 และอัตราป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง 3.01, 2.85, 4.71 ตามลำดับ และในเขตบริการของศูนย์บริการสาธารณสุข 2 มีจำนวนผู้ป่วยเบาหวาน 515, 535, 518 เป็นกลุ่มเบาหวานที่ควบคุมไม่ได้ คิดเป็นร้อยละ 83.11, 73.23, 71.04 และอัตราป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง 5.81, 7.69, 6.25 ตามลำดับ
ดังนั้น ศูนย์บริการสาธารณสุข 2 ตลาดเก่า จึงได้จัดทำโครงการ “โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมไม่ได้ ในเขตบริการศูนย์บริการสาธารณสุข2 (ตลาดเก่า)” ขึ้น เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองและมีพฤติกรรมสุขภาพถูกต้อง ป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคดังกล่าว อีกทั้งเป็นหนทางที่ปลอดภัยและประหยัดงบประมาณกว่าการรักษา โดยการเลือกรับประทานอาหารให้ถูกต้อง ออกกำลังกายให้สม่ำเสมอ เหมาะสมกับภาวะเจ็บป่วย และงดสูบบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หากสามารถปฏิบัติได้สม่ำเสมอจะช่วยให้ผู้ป่วยเบาหวานสามารถดำเนินชีวิตได้ปลอดจากภาวะแทรกซ้อนที่อันตรายต่อชีวิตได้

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องในเรื่องการบริโภคอาหาร การ ออกกำลังกาย และการจัดการกับอารมณ์ทีเหมาะสม
  1. ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องในเรื่องการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย  และการจัดการกับอารมณ์ทีเหมาะสม
0.00
2 2. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการกับอารมณ์ทีเหมาะสม สามารถควบคุมค่า HBA1C ได้ / มีค่าลดลง
  1. ร้อยละ 60 ของผู้เข้ารับการอบรมมีค่า HBA1C ลดลง
0.00
3 3 เพื่อสร้างบุคคลต้นแบบที่ประสบความสำเร็จในการควบคุมน้ำตาลในเลือดได้
  1. เกิดบุคคลต้นแบบที่ประสบความสำเร็จในการควบคุมน้ำตาลในเลือดได้อย่างน้อยร้อยละ 10
0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 30
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน กลุ่มเป้าหมาย ผู้ป่วยโรคเบาหวาน 30 คน และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง 4 คน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน กลุ่มเป้าหมาย ผู้ป่วยโรคเบาหวาน 30 คน และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง 4 คน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11914.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 2 ติดตามเยี่ยมบ้าน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 2 ติดตามเยี่ยมบ้าน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมที่ 3 เจาะเลือด ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ HBA1C รายคน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 3 เจาะเลือด ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ HBA1C รายคน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียนบุคคลต้นแบบผู้ป่วยเบาหวาน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียนบุคคลต้นแบบผู้ป่วยเบาหวาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3060.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 14,974.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้เข้าอบรมมีความรู้เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
2. ผู้เข้าอบรมมีสุขภาพที่ดีและค่า HBA1C ลดลง
3. มีบุคคลต้นแบบสามารถแนะนำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ สามารถควบคุมค่า HBA1C ให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้


>