กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา รหัส กปท. L7452

อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการพัฒนาศักยภาพด้านฉุกเฉินเบื้องต้นสำหรับประชาชนในพื้นที่เทศบาลนครยะลา (ประเภทที่ 2)
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดยะลา
3.
หลักการและเหตุผล

ตามพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ.2551 มีเจตนารมณ์ให้ผู้ป่วยฉุกเฉินได้รับการคุ้มครองสิทธิ์ในการเข้าถึงระบบการแพทย์ฉุกเฉินอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม มีคุณภาพมาตรฐาน โดยได้รับการช่วยเหลือและรักษาพยาบาลที่มีประสิทธิภาพ โดยกำหนดให้สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ จัดให้มีการศึกษาและฝึกอบรมผู้ปฏิบัติการในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน รวมถึงการพัฒนาองค์ความรู้ผู้ปฏิบัติการทุกระดับ เพื่อให้มีความพร้อมสำหรับการจัดการให้ผู้ป่วยฉุกเฉินได้รับการปฏิบัติการฉุกเฉินจนพ้นภาวะฉุกเฉิน ทั้งในภาวะปกติและภัยพิบัติ การดูแลรักษาผู้บาดเจ็บและเจ็บป่วยฉุกเฉินก่อนนำส่งสถานพยาบาลเป็นระบบหนึ่ง ที่มีความสำคัญเพราะช่วงก่อนนำส่งโรงพยาบาลเป็นชั่วโมงทอง (Golden Hour) ของการรักษาพยาบาลผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุต่าง ๆ ที่จะทำให้ผู้ที่เจ็บป่วยฉุกเฉินรอดชีวิตได้มากที่สุดกว่าการรักษาที่โรงพยาบาล ซึ่งสาระสำคัญตามแผนหลักการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ได้กำหนดยุทธศาสตร์ของการพัฒนาระบบปฏิบัติการฉุกเฉิน ที่สำคัญคือ การมีความรู้ความสามารถในเรื่องระบบการแพทย์ฉุกเฉิน การประเมินสถานการณ์และสภาพผู้ป่วยฉุกเฉิน การดูแลช่วยเหลือ ณ จุดเกิดเหตุและระหว่างนำส่งการช่วยฟื้นคืนชีพ การช่วยคลอดฉุกเฉิน การยกและการเคลื่อนย้าย และการจัดการทางแพทย์ในสถานการณ์สาธารณภัย อีกทั้งในปัจจุบัน สภาพเหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ภาคใต้ จะเห็นได้ว่า บทบาทของประชาชนร่วมกับบุคลากรการแพทย์ฉุกเฉินและการประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ ในเหตุการณ์เกิดสาธารณภัยหมู่มีความสำคัญอย่างยิ่ง ดังนั้น ประชาชนต้องมีความรู้ ความเข้าใจ มีความพร้อม และสามารถปฏิบัติการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและทันท่วงที
จากผลการดำเนินงานของระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดยะลา ตั้งแต่เดือน ตุลาคม 2560 ถึงเดือนกันยายน 2561 พบว่า จำนวนอุบัติเหตุยานยนต์ 1, 689 ราย หายใจลำบาก/ติดขัด 1,151 ราย พลัดตกหกล้ม/อุบัติเหตุ/เจ็บปวด 590 ราย ไม่รู้สติ/ไม่ตอบสนอง/หมดสติชั่ววูบ 354 ราย เจ็บแน่นทรวงอก/หัวใจ/มีปัญหาทางด้านหัวใจ 241 ราย หัวใจหยุดเต้น 32 ราย (รายงานสถิติการแพทย์ฉุกเฉิน, 2561) จากความสำคัญดังกล่าว การฝึกอบรมประชาชนในพื้นที่เสี่ยงโดยเฉพาะการเกิดอุบัติเหตุทางถนนให้มีความรู้ และทราบถึงแนวทางการช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยอย่างถูกต้อง มีความสำคัญเป็นอย่างมาก รวมทั้งการฝึกปฏิบัติตามมาตรฐานการปฏิบัติ จนเข้าใจและจำได้ จะนำไปสู่การช่วยเหลือที่มีประสิทธิภาพ วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดยะลา จึงได้จัดโครงการพัฒนาศักยภาพด้านฉุกเฉินเบื้องต้นสำหรับประชาชนในพื้นที่ชุมชนวัดยะลาธรรมาราม เขตเทศบาลนครยะลา ขึ้น

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. 1. เพื่อพัฒนาความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการดูแลตนเองและบุคคลใกล้ชิดเมื่อเจ็บป่วยฉุกเฉิน
    ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนอย่างน้อยร้อยละ 80 ที่เข้าร่วมโครงการมีค่าคะแนนความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการดูแลตนเองเมื่อเจ็บป่วยฉุกเฉินเพิ่มขึ้น
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านฉุกเฉินสำหรับประชาชน
    ตัวชี้วัด : 2. ประชาชนอย่างน้อยร้อยละ 80 ได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านฉุกเฉิน
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 3. 3. เพื่อสร้างความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรมโครงการ
    ตัวชี้วัด : 3. ประชาชนอย่างน้อยร้อยละ 80 ที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรมโครงการในระดับมาก (มากกว่า 3.5 จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน)
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. กิจกรรมที่ 1 ประชุมเตรียมความพร้อมและสร้างความเข้าใจต่อวัตถุประสงค์โครงการ เป้าหมาย ตัวแทนชุมชน ทีมผู้จัดโครงการ และผู้ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 30 คน
    รายละเอียด

     

    งบประมาณ 750.00 บาท
  • 2. กิจกรรมที่ 2 การอบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาศักยภาพด้านฉุกเฉินสำหรับประชาชนในพื้นที่เทศบาลนครยะลา เป้าหมาย ประชาชนชุมชนวัดยะลาธรรมาราม เขตเทศบาลนครยะลา จำนวน 80 คน และทีมผู้จัดโครงการ จำนวน 20 คน รวม 100 คน
    รายละเอียด

     

    งบประมาณ 29,800.00 บาท
  • 3. กิจกรรมที่ 3 การจัดนิทรรศการ และประชาสัมพันธ์การพัฒนาศักยภาพด้านฉุกเฉินสำหรับประชาชนภายในเขตชุมชนเขตเมืองเทศบาลนครยะลา กลุ่มเป้าหมาย 1. ชุมชนวัดยะลาธรรมาราม 2. ชุมชนวิฑูรอุทิศ 3. ชุมชนสันติสุข 4. ชุมชนเสรี 5. ชุมชนสามัคคี
    รายละเอียด

     

    งบประมาณ 12,500.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564

8.
สถานที่ดำเนินการ

ชุมชนเขตเทศบาลนครยะลา

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 43,050.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. ลดอัตราการเจ็บป่วยฉุกเฉิน/บาดเจ็บเพิ่มเติม/เพิ่มโอกาสรอดชีวิต ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนในพื้นที่
  2. การพัฒนาและสร้างองค์ความรู้ด้านการแพทย์ฉุกเฉินการพัฒนาการขับเคลื่อนนโยบาย และเห็นความสำคัญของการพัฒนาศักยภาพด้านฉุกเฉินสำหรับประชาชนเพื่อการปรับเปลี่ยน และพัฒนาการดูแลตนเองและบุคคลใกล้เคียงเมื่อเจ็บป่วยฉุกเฉิน
  3. สร้างเสริมการพัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชน และภาคีเครือข่ายด้านสุขภาพ ส่งผลให้เกิดเจตคติที่ดีในการดูแลผู้รับบริการด้านสุขภาพสำหรับผู้รับบริการในชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา รหัส กปท. L7452

อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564
เรียน ประธานกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา รหัส กปท. L7452

อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 43,050.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................