กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการ สังคมไทยใส่ใจสุขภาพ (ชมรม อสม. หมู่ที่ 1)]

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว

ชมรม อสม. หมู่ที่ 1

1.นางกนกวรรณ หลินมา
2.นางสุภาพร อินทร์คงช่วย
3.นางสาววนิดา สงอักษร
4.นางสาววิณารัตน์สงครินทร์
5.นางรัตนา เพชรขาวช่วย

หอประุชมหมู่ที่ 1 ตำบลบ้านพร้าว

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ปัจจุบันพบว่าประชาชนหมู่ที่1 มีความเจ็บป่วยจากโรคที่เกดจากการมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมจำนวน 208 คน ซึ่งเกิดจากการรับประทานอาหารที่ไม่ถูกต้องไม่เหมาะสมกับวัย ขาดการออกกำลังกายที่ถูกต้อง การละเลยต่อการคัดกรองสุขภาพไม่มีการจีดบริเวณที่อยู่อาศัยให้ถูกสุขลักษณะ เนื่องจากการใช้ชีวิตประจำวันที่ต้องเร่งรีบกับการทำงานเพื่อหาเงินมาใช้ในครอบครัวซึ่งประชาชนส่วนใหญ่คิดว่ายังไม่เป็นอะไร ไม่จำเป็นต้องได้รับการคัดกรองโรคให้ป่วยก่อนแล้วจึงไปพบแพทย์ ซึ่งสิ่งเหล่านี้ทุกคนสามารถทำได้และเป็นการป้องกันโรคที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต เช่น โรคมะเร็งด้วยเหตุผลเหล่านี้จึงทำให้ชมรม อสม.หมู่ที่ 1 จึงได้ทำโครงการสังคมใส่ใจคนไทยสุขภาพดี ขึ้นเพื่อป้องกันโรคที่จะเกิดขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองสารเคมีตกค้างในเลือดร้อยละ 90 -ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสารเคมีตกค้างในเลือด ร้อยละ 90 กลุ่มเสี่ยงได้รับการเจาะซ้ำทุกคน

1.ประชาชนที่เข้าร่วมมีความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองและสมาชิกในครอบครัว 2.ลดการเกิดโรคที่ป้องกันได้ 3.ประชาชนในหมู่บ้านมีความสามัคคี

90.00 90.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมใส่ใจสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมใส่ใจสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดของประชาชนทั่วไป -ให้ความรู้เกี่ยวกับสารเคมีตกค้างในเลือดแก่กลุ่มเป้าหมายทุกคน และให้ความรู้ในการปลูกผัก บริโภคอาหารปลอดภัย งบประมาณ ค่าป้ายโครงการฯ 1x3 เมตร @150 = 450 -ค่าวิทยากร 5 ชม. x 300 บาท=1500 -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 70 คน x 25.- x 2 มื้อ=3500 -ค่าชุดตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด2 ชุด × 700บาท=1400 -ค่าอาหารกลางวัน70คน× 50 บาท=3500 รวมเงิน 10350.-

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองสารเคมีตกค้างในเลือดร้อยละ 90
-ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสารเคมีตกค้างในเลือด ร้อยละ 90 กลุ่มเสี่ยงได้รับการเจาะซ้ำทุกคน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10350.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ส่งเสริมการปลูกผักให้กลุ่มเสี่ยง -ติดตามเจาะสารเคมีตกค้างซ้ำในกลุ่มเสี่ยงและไม่ปลอดภัย -ติดตามประเมินผล งบประมาณ ค่าพันธ์ผัก จำนวน 30 คนx 5 ซองx25.-=3750 -ค่าพันธ์ผัก จำนวน 30คน x 20ต้น x 2.-=1200 รวมเงิน4950.-

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ประชาชนที่เข้าร่วมมีความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองและสมาชิกในครอบครัว 2.ลดการเกิดโรคที่ป้องกันได้ 3.ประชาชนในหมู่บ้านมีความสามัคคี

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4950.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 15,300.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชาชนที่เข้าร่วมมีความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองและสมาชิกในครอบครัว
2.ลดการเกิดโรคที่ป้องกันได้
3.ประชาชนในหมู่บ้านมีความสามัคคี


>