กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุไหงปาดี

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการบ้านป่าหวายสุขใจห่างไกลโรคเรื้อรัง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุไหงปาดี

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 8 บ้านป่าหวาย

1.นางนง กังสวรณ์ ประธานอสม.
2.นางอรวรรณ ทองรมย์ กรรมการ
3.นางพริ้ม บุตรจีน กรรมการ
4.นางสาวละออง ดีเพชร กรรมการ
5.นางโสภา หะนุรัตน์กรรมการ
6.นางวิไลวรรณ บุตรจีน กรรมการ
7.นางสาวมาริษาจันทร์มาตร์กรรมการ
8.นายปรีชา แก้วเมฆ กรรมการ

ศาลาอเนกประสงค์บ้านป่าหวาย หมู่ที่ 8 ต.สุไหงปาดี อ.สุไหงปาดี จ.นราธิวาส

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ประชาชนในหมู่บ้านขาดความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ

ปัจจุบันประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งมีผลกระทบมาจากกระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกและการเปลี่ยนแปลงของประเทศไทยทั้งทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ การแข่งขันทางการตลาด การสื่อสารและการคมนาคม รวมถึงการใช้เทคโนโลยีมากขึ้น ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมีผลกระทบต่อวิถีชีวิตและสุขภาพของประชาชนไทยเป็นอย่างมาก จะเห็นได้จากในอดีตปัญหาสุขภาพของประชาชนส่วนใหญ่เจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อ แต่ในปัจจุบัน และในอนาคต ปัญหาสุขภาพจะมีผลกระทบมาจากสังคม สิ่งแวดล้อม และพฤติกรรมมากขึ้นตามลำดับ จะเห็นได้จากพฤติกรรมที่เป็นปัญหา เช่น พฤติกรรมการบริโภค พฤติกรรมการออกกำลังกาย พฤติกรรมความปลอดภัย การใช้ยาและสารเสพติด ปัญหาสุขภาพจิต เป็นต้น ดังนั้น การดำเนินการในการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขของประเทศ จำเป็นจะต้องพัฒนาประชาชนให้มีองค์ความรู้ และทักษะที่จำเป็น และพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม ทั้งระดับบุคคลครอบครัว และชุมชนครอบคลุม กลุ่มประชากรเป้าหมาย เพื่อให้ประชาชนสามารถส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้แก่ตนเอง ครอบครัว และชุมชนได้ ซึ่งการดำเนินงานดังกล่าวจำเป็นจะต้องส่งเสริมพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่สำคัญๆ ที่ก่อให้เกิดปัญหาสาธารณสุขของประเทศ นโยบายสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ช่วยคนไทยห่างไกลโรค มีเป้าหมายที่สำคัญ คือ การสร้างสุขภาพที่ดีให้กับประชาชน และลดปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพในระยะยาว โดยใช้กระบวนการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของการขับเคลื่อนให้การดำเนินงานช่วยคนไทยห่างไกลโรคให้บรรลุผลสำเร็จ โดยการส่งเสริมให้มีความรู้ และทักษะในการดูแลตนเอง และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยใช้หลัก ๓อ.๒ส. เป็นหลัก เพื่อให้มีสุขภาวะในทุกด้าน หลังการตรวจคัดกรองความเสี่ยงเพื่อ ค้นหาโรคในระยะเริ่มต้น
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี จึงได้จัดทำ โครงการใส่ใจสุขภาพ ห่างไกลโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้และสามารถนำไปปฏิบัติ เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป

30.00

ปัจจุบันนี้ปัญหาสุขภาพในพื้นที่บ้านป่าหวายมีปัญหามากขึ้นเกี่ยวกับ โรคความดัน โรคเบาหวาน ทำให้ประชาชนความเจ็บป่วยทำให้เสียค่าใช้จ่ายเพิ่มมากขึ้นทางชมรม อสม.แลเห็นความสำคัญปัญหาด้านสุขภาพ และลงสำรวจปัญหา พบว่า โรคความดันมีจำนวนผู้ป่วย 15 คนร้อยละ โรคเบาหวาน จำนวนผู้ป่วย4 คนร้อยละ

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมากขึ้น

30.00 40.00
2 เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังน้อยลง

ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังน้อยลง

30.00 25.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 11/07/2022

กำหนดเสร็จ 29/07/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 การตรวจสุขภาพผู้เข้าร่วมโครงการ

ชื่อกิจกรรม
การตรวจสุขภาพผู้เข้าร่วมโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

การคัดกรองผู้เข้าร่วมอบรมและกลุ่มเสี่ยง ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คนจำนวน 3 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1800 บาท ค่าป้ายไวนิลขนาด 240x120 ซม.เป็นเงิน 720 บาท ค่าอาหารกลางวัน 30 คน จำนวน 1 มื้อๆละ 50 บาท เป็นเงิน 1500 บาท
ค่าอาหารว่าง และเครื่องดื่ม 30 คน จำนวน 2 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน 1500 บาท วัดความดันโลหิต 2500x6 = 15000 บาท
ชั่งน้ำหนัก1200x1 = 1200 บาท
เครื่องวัดน้ำตาล2 เครื่องชุด 1000 บาท ปากกา10 บาท30 ด้าม300 บาท สมุด10 บาท 30เล่ม 300 บาท แฟ้ม 10 บาท30 ชุด300 บาท รวม 23620 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
11 กรกฎาคม 2565 ถึง 29 กรกฎาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับการตรวจสุขภาพก่อนเข้าร่วมโครงการทุกคน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6485.00

กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้ด้านสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้ด้านสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรบให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพเพื่อลดความเสี่ยงในของการโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คนจำนวน 3 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1800 บาท ค่าป้ายไวนิลขนาด 240x120 ซม.เป็นเงิน 720 บาท ค่าอาหารกลางวัน 30 คน จำนวน 1 มื้อๆละ 50 บาท เป็นเงิน 1500 บาท
ค่าอาหารว่าง และเครื่องดื่ม 30 คน จำนวน 2 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน 1500 บาท วัดความดันโลหิต 2500x6 = 15000 บาท
ชั่งน้ำหนัก1200x1 = 1200 บาท
เครื่องวัดน้ำตาล2 เครื่องชุด 1000 บาท ปากกา10 บาท30 ด้าม300 บาท สมุด10 บาท 30เล่ม 300 บาท แฟ้ม 10 บาท30 ชุด300 บาท รวม 23620 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
11 กรกฎาคม 2565 ถึง 29 กรกฎาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เพิ่มขึ้นและสามารถนำไปปฎิบัติได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6100.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 12,585.00 บาท

หมายเหตุ :
รวม 23620 บาท

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลสุขภาพให้เหมาะสม
อัตราป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานลดลง
เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและหรือความดันโลหิตสูงได้รับความรู้เรื่องโรค และภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน โรคความดันสูง
เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและหรือความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วย ๓ อ. ๒ ส.
เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน


>