กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการการมีส่วนร่วมของชุมชนในการส่งเสริมสุขภาพตำบลบูกิต

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต

อบต.บูกิต

อบต.บูกิต

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานผู้สูงอายุ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

หลักการและเหตุผล
คุณภาพชีวิตที่ดี คือเป็นเป้าหมายหลักของสังคม คือ ประชาชนมีสุขภาพอนามัยดีทั้งร่างกายและจิตใจ ทุกเพศทุกวัย จากการศึกษาข้อมูลพบว่าประชากรผู้สูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทั้งด้านปริมาณและสัดส่วนต่อประชากร กระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดนโยบายให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงตามวัย ขยายโอกาสดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่า ดังนั้น การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกฝ่ายจะต้องร่วมมืออย่างจริงจังและต่อเนื่องในการเตรียมความพร้อมให้ผู้สูงอายุทุกคนตลอดจนบุคคลในครอบครัวและชุมชน จากสภาพปัญหาด้านสุขภาพของประชาชนในปัจจุบัน นับว่าเป็นปรากฏการณ์ของปัญหาใหม่ที่สำคัญปัญหาหนึ่งที่ไม่สามารถจะมองข้ามได้ เนื่องจากปัญหาด้านสุขภาพจะส่งผลกระทบต่อปัญหาอื่นๆ อีกมากมาย เช่น ปัญหาด้านเศรษฐกิจ สังคม การศึกษา สุขภาพ เป็นต้น ปัจจุบันปัญหาด้านสุขภาพของประชาชนเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ โรคความดันโลหิต เบาหวาน เป็นต้น หากขาดการดูแลเอาใจใส่อาจส่งผลถึงชีวิตในที่สุดโรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ดีของบุคคล เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคกระดูกและข้อ ตลอดจนปัญหาอุบัติเหตุต่างๆ แม้ว่าจะเป็นอุบัติเหตุจากการทำงานอุบัติเหตุจากการจราจรบนท้องถนน โรคและอุบัติเหตุต่างๆ เหล่านี้ยังเป็นปัญหาใหญ่ของประเทศในด้านการส่งเสริมสุขภาพ การได้รับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคจากสถานบริการสาธารณสุข ซึ่งประชาชนและชุมชนไม่สามารถพึ่งตนเองได้ในการดูแลสุขภาพเบื้องต้น แม้ว่ากระทรวงสาธารณสุข และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้พยายามที่จะแก้ไขปัญหาเหล่านี้ ซึ่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจำเป็นต้องอาศัยกลยุทธ์ในการส่งเสริม ควบคุม ป้องกัน รักษาและฟื้นฟู เพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพของประชาชนในชุมชน
การแก้ไขปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน จำเป็นต้องส่งเสริมการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน ทั้งหน่วยภาครัฐ องค์กรชุมชน ผู้นำชุมชนและอาสาสมัครสาธารณสุข ตลอดจนประชาชนทั่วไปในพื้นที่ให้เข้ามามีส่วนร่วมและตระหนักในการแก้ไขปัญหาร่วมกันเป็นสำคัญ เพื่อให้ชุมชนเกิดความตระหนัก และมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา ก่อให้เกิดการพัฒนาจนสามารถพึ่งพาตนเองแบบยั่งยืนได้
ดังนั้น งานสาธารณสุข สำนักปลัด อบต.บูกิต ร่วมกับรพ.สต. ทั้ง 3 แห่ง ผู้นำหมู่บ้าน และคณะกรรมการหมู่บ้าน อาสาสมัครสาธารณสุข รวมเป็นแกนสุขภาพตำบลบูกิตได้ร่วมกันจัดโครงการการมีส่วนร่วมของชุมชนในการส่งเสริมสุขภาพตำบลบูกิต เพื่อให้ความสำคัญกับการเสริมสร้าง พัฒนาและสนับสนุน กระบวนการบูรณาการและการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการดำเนินงานด้านสุขภาพร่วม กับแกนนำสุขภาพ ตำบลบูกิต ให้เข้ามาส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานด้านสุขภาพของชุมชน ส่งผลให้การดำเนินงานตามนโยบายการสร้างสุขภาพ และการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญประสบผลสำเร็จเพิ่มขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

องค์กรภาครัฐ ผู้นำชุมชน เครื่อข่ายภาคประชาชนด้านสุขภาพในระดับชุมชนอบต.บูกิต ตลอดจน ประชาชนทั้วไปในเขตอบต.บูกิต

0.00

1.เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีคสามเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 รณรงค์ประชาสัมพันธ์

ชื่อกิจกรรม
รณรงค์ประชาสัมพันธ์
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ไม่มีค่าใช้จ่าย

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมเชิงปฎิบัติการให้ความรู้การดูแลสุขภาพในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูง เบาหวานเครือข่ายสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
จัดอบรมเชิงปฎิบัติการให้ความรู้การดูแลสุขภาพในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูง เบาหวานเครือข่ายสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ไวนิลประชาสัมพันธ์กิจกรรม131ผืน 750 -ค่าอาหารเที่ยงและเครื่องดื่ม5060บาท 3,000 -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม50252มื้อ 2,500 -ค่าวัสดุประกอบการอบรม50300บาท 15,000 -ค่าแผ่นพับประชาสัมพันธ์ 10,000 -ค่าตอบแทนวิทยากร15ชม.600 3,000

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
34250.00

กิจกรรมที่ 3 ถอดบทเรียนแลกเปลี่ยนความรู้และประเมินผลการสร้างเครือข่ายสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
ถอดบทเรียนแลกเปลี่ยนความรู้และประเมินผลการสร้างเครือข่ายสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าอาหารเที่ยงและเครื่องดื่ม5060 3,000 -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 5025*2มื้อ 2,500

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 39,750.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.มีการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชนในพื้นที่เขตอบต.บูกิตโดยองค์กรภาคประชาชนด้านสุขภาพเข้ามามีส่วนร่วม
2.องค์กรภาครัฐผู้นำชุมชน เครือข่ายภาคประชาชนด้านสุขภาพในระดับชุมชนด้านสุขภาพในระดับชุมชนอบต.บูกิต
3.มีการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการดำเนินการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนมีศักยภาพและเข้มแข็งขึ้น


>