กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการป้องกันภัยพิบัติตำบล ปุโละปุโย

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย

กองทุนสุขภาพตำบลปุโละปุโย

1. นายมามะ หะยีสามะ
2. นายอารีดี ปากบารา
3. นางสาวกฤติยา ประถมปัทมะ
4. นางสาวดินาร์ลิน กิตินัย
5. นางสาวฟารีซัน วาแม

พื้นที่ตำบลปุโละปุโย

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนที่ได้รับผลกระทบต่อสถานการณ์การระบาดของโรคฉี่หนู

 

20.00
2 ร้อยละเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด

 

20.00
3 ร้อยละของประชาชนที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฉี่หนู

 

20.00
4 ร้อยละของเด็กเล็กที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมือเท้าปาก

 

30.00

การดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขในการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพและการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก ที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตของประชาชนในชุมชนหรือท้องถิ่นและตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.๒๕๕๗ ข้อ ๗ (๕) กรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ให้คณะกรรมการกองทุนพิจารณาอนุมัติจ่ายเงินกองทุน เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมในการป้องกันและแก้ปัญหาสาธารณสุขได้ตามความจำเป็น เหมาะสมและทันต่อสถานการณ์ ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินงานมีความสอดคล้องตามประกาศคณะกรรมการฯ
ทางกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลปุโละปุโย ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการป้องกันภัยพิบัติที่จะเกิดขึ้น จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและเฝ้าระวังโรคระบาดหรือภัยพิบัติ ตำบลปุโละปุโย เพื่อเตรียมความพร้อมในการรับมือกับโรคระบาดหรือ ภัยพิบัติในพื้นที่ ก็จะสมารถช่วยลดความรุนแรง ความสูญเสีย จากโรคระบาดหรือภัยพิบัติได้ทันท่วงที โดยการจัดกิจกรรมการอบรมให้ความรู้การป้องกันโรคอุบัติใหม่ เช่น(โรคฉี่หนู,โรคมือ เท้า ปาก) และรณรงค์ให้ประชาชนในเขตพื้นที่ตำบลปุโละปุโย ได้ทราบถึงวีการป้องกันโรคเพื่อเป็นภูมิคุ้มกันให้กับตนเองและบุคคลในครอบครัวและการดำเนินชีวิตประจำวันได้อย่างปลอดภัยจากโรคต่างๆที่เกิดขึ้นได้

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด

การแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด(ร้อยละ)

20.00 30.00
2 เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังโรคอุบัติใหม่ (โรคฉี่หนู และ โรคมือ เท้า ปาก) ให้กับประชาชนและผู้ปกครองในพื้นที่ของตำบลปุโละปุโย

ประชาชนมีความรู้ในการดูแลเฝ้าระวังโรคอุบัติใหม่ (โรคฉี่หนู และโรคมือ เท้า ปาก) เพิ่มขึ้นร้อยละ 70

20.00 20.00
3 เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคอุบัติใหม่ (โรคฉี่หนู และโรคมือ เท้า ปาก)

ประชาชนสามารถป้องกันโรคอุบัติใหม่ (โรคฉี่หนู และโรคมือ เท้า ปาก)

20.00 20.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 200
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 22/03/2021

กำหนดเสร็จ 31/08/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้กับประชาชนในพื้นที่อบต.ปุโละปุโย ในการป้องกันโรคอุบัติใหม่ (โรคฉี่หนูและโรคมือ เท้า ปาก)

ชื่อกิจกรรม
รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้กับประชาชนในพื้นที่อบต.ปุโละปุโย ในการป้องกันโรคอุบัติใหม่ (โรคฉี่หนูและโรคมือ เท้า ปาก)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ดำเนินการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้กับประชาชนในพื้นที่อบต.ปุโละปุโย ในการป้องกันโรคอุบัติใหม่ (โรคฉี่หนูและโรคมือ เท้า ปาก)
งบประมาณ ป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคอุบัติใหม่ (โรคฉี่หนู และโรคมือ เท้า ปาก)ขนาด 1.2 x 3 เมตร จำนวน 14 ป้ายๆ ละ 720 บาทเป็นเงิน 10,800 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
22 มีนาคม 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ประชาชนมีความตระหนักการป้องกันโรคอุบัติใหม่ (โรคฉี่หนู และโรคมือ เท้า )
  2. ประชาชนสามารถป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากโรคอุบัติใหม่ (โรคฉี่หนู และโรคมือ เท้า ปาก)
  3. สามารถลดการแพร่ระบาดของโรคอุบัติใหม่ (โรคฉี่หนู และโรคมือ เท้า ปาก
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10800.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 10,800.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเองจากโรคอุบัติใหม่ (โรคฉี่หนู และโรคมือ เท้า ปาก)
2. ประชาชนมีความตระหนักการป้องกันโรคอุบัติใหม่ (โรคฉี่หนู และโรคมือ เท้า ปาก)
3. ประชาชนสามารถป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากโรคอุบัติใหม่ (โรคฉี่หนู และโรคมือ เท้า ปาก)
4. สามารถลดการแพร่ระบาดของโรคอุบัติใหม่ (โรคฉี่หนู และโรคมือ เท้า ปาก)


>