กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายสุขภาพดี ชีวีมีสุข (กิจกรรมเข้าจังหวะและบาสโลบ)

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์

อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนบ้านคอหงส์ 6

1. นางพัทนัย แก้วแพง
2. นางจุรีรัตน์ รัตนสุข
3. นางพวงรัตน์ สังฆมิตกุล
4. นางยุพา นาคช่วย
5. นางอนงค์ สุกแก้วมณี

ชุมชนบ้านคอหงส์ 6 ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

จากการจัดทำโครงการตั้งแต่วันที่ 16 มิถุนายน -30 พฤศจิกายน พ.ศ.2563 กลุ่มเสี่ยงที่ร่วมโครงการมีอายุ 35-85 ปี จำนวน 70 คน พบว่าระดับ BMI.ลดลงจำนวน 21 คนแต่ระดับความเสี่ยงยังไม่เปลี่ยนแปลง น้ำหนักปกติจำนวน 28 คนคิดเป็นร้อยละ 40 นน.เกินจำนวน 16 คนคิดเป็นร้อยละ 22.28 ระดับโรคอ้วนระดับ 1จำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ32.86จำนวน โรคอ้วนระดับ 2จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 4.29
ความดันโลหิตปกติจำนวน 40 คน ระดับความดันโลหิตค่อนข้างสูง=23 คน ค่า FBS.ปกติจำนวน 56 คน เสี่ยงต่อเบาหวานจำนวน 15 คน สมาชิกมีปัญหาด้านสาธารณะสุข คือ ภาวะโภชนาการเกินอ้วน ภาวะเสี่ยง เบาหวาน เสี่ยงความดันโลหิตสูงเสี่ยงไขมันในเส้นเลือดสูง ตลอดจนมีภาวะโรคความดัน โลหิตสูง เบาหวานและไขมัน ในเส้นเลือดสูง ดังนั้นสมาชิกจำเป็นต้องได้รับการดูแลเป็นพิเศษโดยเน้นการส่งเสริมสุขภาพป้องกันการเกิดโรคและภาวะแทรกซ้อนต่างๆ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการออกกำลังกายโดยชุมชนมีส่วนร่วม (กิจกรรมเข้าจังหวะ)

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนที่ร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับอาหาร,อาหารแทนยา และการออก กำลังกายรวมถึงการใช้ร่างกายไม่เป็นโรค

ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เรื่องเกี่ยวกับอาหารและการออกกำลังกาย เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 จำนวนสมาชิกร้อยละ 10

0.00
2 เพื่อให้ประชาชนเกิดความตระหนักและมีส่วนร่วมในการส่งเสริมการป้องกันโรคและดูแลสุขภาพกายและจิตใจ

ค่าBMIของผู้เข้าร่วมโครงการวัดค่าได้ปกติตามเกณฑ์มาตรฐาน

0.00
3 เพื่อผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพร่างกายสมบูรณ์และแข็งแรง

ค่าน้ำตาลในเลือดและค่าความดันโลหิตของผู้ร่วมโครงการวัดได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน

0.00

เพื่อให้ประชาชนที่ร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับอาหาร,อาหารแทนยาและการออก กำลังกายรวมถึงการใช้ร่างกายไม่เป็นโรค

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ 40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/04/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับกินอาหารอาหารแทนยา และการออกกำลังกาย

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับกินอาหารอาหารแทนยา และการออกกำลังกาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าตอบแทนวิทยาการ จำนวน 3 ชม.ๆ ละ 600 บาท x 1 ครั้ง = 1,800 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 50 คนๆ ละ 25 บาท x 1 ครั้ง = 1,250 บาท
  • ค่าวัสดุจัดทำคู่มือประจำตัวสมาชิก จำนวน 50 ชุดๆ ละ 30 บาท = 1,500 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4550.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมย่อยตรวจร่างกาย วัดความดันโลหิต ตรวจเลือด ชั่งนำหนัก วัดส่วนสูงก่อนการจัดอบรมและหลัง

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมย่อยตรวจร่างกาย วัดความดันโลหิต ตรวจเลือด ชั่งนำหนัก วัดส่วนสูงก่อนการจัดอบรมและหลัง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าเครื่องวัดความดันโลหิต 1 เครื่องๆ ละ 2,500 บาท = 2,500 บาท
  • ค่าปรอทดิจิตอล 1 ชุดๆ ละ 2,100 บาท = 2,100 บาท
  • ค่าแอลกอฮอลเจล 1,000ซีซี. = 500 บาท
  • ค่าสำลี 1 ถุงๆ ละ = 100 บาท
  • ค่าแอลกอฮอล 500 ซีซี = 100 บาท
  • ค่าถุงมือ 1 กล่องๆ ละ = 100บาท
  • ค่าเครื่องวัดเจาะน้ำตาลในเลือด 1 ชุดๆ ละ = 2,000 บาท
  • ค่าแผ่นอ่านผล 1 กล่องๆ ละ(50 ชิ้น/กล่อง) = 800 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8200.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกาย (กิจกรรมเข้าจังหวะ หรือ บาสโลบ)

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกาย (กิจกรรมเข้าจังหวะ หรือ บาสโลบ)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าตอบแทนออกกำลังกาย 6 เดือนๆ ละ 3,600 บ. x 6 เดือน = 21,600บาท
  • ค่าวัสดุไวนิลเมตรละ 150 บาท = 2 x 3=6 x 150 บ. x 1 ป้าย= 900 บาท
  • ค่าจัดทำเอกสาร = 1,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
23500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 36,250.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้เข้ารับการอบรมมี ความรู้เรื่องเกี่ยวกับอาหาร, การกินอาหารแทนยา ที่เป็นโรคและไม่เป็นโรค และเตรียมร่างกายก่อนและหลังการออกกำลังกาย
2. ผู้เข้ารับร่วมโครงการมี BMI ได้มาตรฐานเพิ่มขึ้นร้อยละ 10 (จำนวนสมาชิก)
3. ค่าน้ำตาลในเลือดและค่าความดันโลหิต.ของผู้ร่วมโครงการวัดได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 (จำนวนสมาชิก)


>