กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แดนสงวน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19 (COVID-19) ในสถานศึกษา

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แดนสงวน

โรงเรียนบ้านมาบหัวทีง

1.นางดนูวดี สุขสว่าง
2.น.ส.ธนภรณ์ คะทะวรัตน์
3.นางพิกุลทอง ภูมิหึงษ์

โรงเรียนบ้านมาบหัวทีง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร่้อยละประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคระบาดโรคโควิด-19 (COVID-19)

 

10.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจแก่นักเรียนเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)

ร้อยละ 90 ของนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)

10.00 90.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 220
กลุ่มวัยทำงาน 14
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 04/01/2021

กำหนดเสร็จ 30/04/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1 ตั้งจุดตรวจคัดกรองโรคโควิด-19

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1 ตั้งจุดตรวจคัดกรองโรคโควิด-19
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ประชุมคณะครู และบุคลากรทางการศึกษาเพื่อวางแผนป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) 2.ประชุมผู้ปกครองชี้แจงทำความเข้าใจ 3.ตั้งจุดคัดกรองหน้าโรงเรียน 4.ล้างมือด้วยสบู่หรือเจลล้างมือทุกครั้งก่อนเข้าห้องเรียน 5.สรุปและประเมินผลการดำเนินกิจกรรม

ระยะเวลาดำเนินงาน
4 มกราคม 2564 ถึง 30 เมษายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.นักเรียนได้รับการเฝ้าระวังและคัดกรองโรคโควิด-19

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6000.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 2 แนะนำการล้างมือและการสวมหน้ากากอนามัยแก่นักเรียน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 2 แนะนำการล้างมือและการสวมหน้ากากอนามัยแก่นักเรียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ประชุมครูและบุคลากรทางการศึกษาในการดำเนินกิจกรรม 2.ให้ความรู้แก่นักเรียนแกนนำในการล้างมือและสวมหน้ากากอนามัยที่ถูกต้อง 3.ดำเนินกิจกรรมแนะนำการล้างมือและสวมหน้ากากอนามัยแก่นักเรียน 4.นักเรียนลงมือปฏิบัติจริงในการล้างมือและสวมหน้ากากอนามัยที่ถูกต้อง 5.สรุปและประเมินผลการดำเนินกิจกรรม

ระยะเวลาดำเนินงาน
4 มกราคม 2564 ถึง 30 เมษายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

นักเรียนมีความรู้การสวมหน้ากากอย่างถูกวิธี การล้างมือ 7 ขั้นตอน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6000.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมที่ 3 จัดหาอ่างล้างมือ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 3 จัดหาอ่างล้างมือ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.จัดหาอุปกรณ์ที่ใช้ในการป้องกันโรค

ระยะเวลาดำเนินงาน
4 มกราคม 2564 ถึง 30 เมษายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.นักเรียนมีอ่างล้างมือ จำนวนเพียงพอในการป้องกันโรคโควิด-19

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 15,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.มีจุดตรวจคัดกรองโรคโควิด-19 เพื่อเฝ้าระวังควบคุมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)
2.ลดความตื่นตระหนกของผู้ปกครองและนักเรียนและสร้างความพร้อมในการเผชิญกับการแพร่ระบาดของโรค
3.นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติตนตามแนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดได้


>